Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79314
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Lalida Shank | - |
dc.contributor.author | Jeeraporn Chitphan | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-12-12T16:09:14Z | - |
dc.date.available | 2023-12-12T16:09:14Z | - |
dc.date.issued | 2022-03-11 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79314 | - |
dc.description.abstract | Allixin (3-hydroxy-5-methoxy-6-methy1-2-penthy1-4H-pyran-4-one) is a nonsulfur containing phytoalexin with red-brown color. This compound showed several unique biological properties such as anti-oxidative, anti-microbial, anti-skin tumor promoting activity in vivo, radical scavenging effect, inhibition of aflatoxin B, binding to DNA and neurotrophic effects. Allixin is found accumulating on the surface of garlic (Allium sativum L.) bulbs that have been stored long-term, about 9 months to 2 years. However, allixin is absent in fresh garlic and may possibly be produced via plant tissue culture technique that is highly efficient for producing plant secondary metabolites. The experiment began by employing sterile techniques to obtain germ-free garlic explants. Garlic cloves were surface sterilized with 0.1% (w/v) mercuric chloride with 2 drops of tween 20 for 15 min and then soaking with 70% ethanol for 30 sec, following by rinsing in sterile distilled water for 15 min 3 times prior to culturing in Murashige and Skoog (MS) medium supplemented with 1.5 mg/L of 2,4-dichloropheoxyacetic acid and 5.0 mg/L of kinetin. Callus appeared clearly on a new shoot around cut wound within 28 days. Next, the callus of garlic were induced with different concentrations of methyl jasmonate (25, 50, 100 and 200 µM) for 49 days. Fresh weight was recorded every week for a total of 7 weeks. Fresh weight of callus decreased every week indicating the state of secondary metabolite production. In addition, treatment of callus by methyl jasmonate for a period of 28 days resulted in red-brown pigment formation on the callus. Extraction of allixin was carried out by grinding elicited garlic callus in methanol. This suspension was centrifuged at 9,000 xg at 4 °C for 20 min. The supernatant was analyzed by High Performance Liquid Chromatography (HPLC) in comparison with commercial allixin standard. Callus of garlic was elicited with 100 µM of methyl jasmonate for a period of 28 days provided the highest allixin content at 3.202 ± 0.240 mg/g fresh weight and 11.793 ± 0.335 mg(g dry weight, respectively. On the other hand, allixin was not detected in the control group of garlic callus. Callus elicited with 100 µM of methyl jasmonate for 28 days was used for isolation of allixin by column chromatography and identification by Nuclear Magnetic Resonance spectroscopy (NMR). Results confirmed that the elicited callus contained allixin. Hence, elicited garlic callus is a newfound source of allixin. Which can produce higher amounts in shorter period of time. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | Allium sativum L. | en_US |
dc.subject | Allixin | en_US |
dc.title | Effect of Methyl Jasmonate on Allixin production in Callus of Garlic (Allium sativum L.) | en_US |
dc.title.alternative | ผลของเมทิลจัสโมเนตต่อการผลิตอัลลิซินในแคลลัสของกระเทียม (Allium sativum L.) | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Garlic | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Plant tissue culture | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Plant cells and tissues | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Callus | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Metabolites | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | อัลลิซิน (Allixin, 3-hydroxy-5-methoxy-6-methy1-2-penthy1-4H-pyran-4-one) เป็น ไฟโตอเล็กซินชนิดหนึ่งที่มีสีน้ำตาลแดงและไม่มีซัลเฟอร์เป็นองค์ประกอบ สารประกอบนี้แสดง คุณสมบัติทางชีวภพที่เป็นเอกลักษหลายประการ เช่น ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ ฤทธิ์ต้านเนื้องอก มีผลต่อการยับยั้งการจับของอะฟลาทอกซินบี 2 กับดีเอ็นเอ และมีผลดีทางระบบ ประสาท พบว่ามีการสะสมของอัลลิซินที่บริเวณผิวของหัวกระเทียม ที่เก็บไว้เป็นระยะเวลานาน ประมาณ 9 เดือน ถึง 2 ปี แต่ไม่พบการสะสมของอัลลิซินในกระเทียมสด และอาจผลิตอัลลิซินได้ โคยใช้เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ซึ่งเป็นกระบวนการที่มีประสิทธิภาพสูงในการผลิตสาร เมแทบอไลท์ทุติยภูมิในพืช การทดลองเริ่มจากการใช้เทคนิคปราศจากเชื้อ เพื่อให้ได้ขึ้นส่วนของกระเทียมที่ปลอดเชื้อโรค โดยผิวของกลีบกระเทียมจะถูกฆ่าเชื้อด้วยเมอร์คิวริคคลอไรด์ ที่ความเข้มข้น 0.1% (w/v) ผสมกับ Tween 20 จำนวน 2 หยด เป็นเวลา 15 นาที จากนั้นแช่ในแอลกอฮอล์ 70% เป็นเวลา 30 วินาที ตามด้วยการล้างในน้ำกลั่นที่ผ่านการฆ่าเชื้อ 3 ครั้ง ครั้งละ 5 นาที แล้วนำไปเพาะเลี้ยงในอาหาร เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสูตรมูราชิเกและสกูก ที่ประกอบไปด้วยกรค 2,4-ไดคลอโรฟีนอกซีแอซีติก ความเข้มข้น 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร และ ไคเนดินความเข้มข้น 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร หลังการเพาะเลี้ยง เป็นระยะเวลา 28 วันจะ สังเกตเห็นยอดอ่อนและแคลลัสของกระเทียมเกิดขึ้นอย่างชัดเจน จากนั้น ชักนำการผลิตอัลลิซินในแคลลัสของกระเทียม ด้วยเมทิลจัสโมเนตที่ความเข้มข้น 25 50 100 และ 200 ไมโครโมลาร์ เป็นเวลา 49 วัน และ ทำการบันทึกน้ำหนักสดของแคลลัสทุกสัปดาห์ รวมเป็น 7 สัปดาห์ น้ำหนักสดของแคลลัสลดลงทุกสัปดาห์ ซึ่งบ่งชี้ถึงสถานะของการผลิตสารเมแทบอไลท์ ทุติยภูมิ นอกจากนี้การใช้เมทิลจัสโมเนตเป็นเวลา 28 วัน ส่งผลให้เกิดการ สร้างสีน้ำตาลแคง บนแคลลัส การสกัดอัลลิชินทำได้โดยการบดแคลลัสกระเทียมในเมทานอล และ ปั่นเหวี่ยงที่ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 20 นาที นำสารละ ลายส่วนใสไปวิเคราะห์ด้วยโครมาโทกราฟิ ของเหลวสมรรถนะสูงเปรียบเทียบกับสารอัลลิซินมาตรฐาน แคลลัสของกระเทียมที่ถูกกระตุ้นด้วย เมทิลจัสโมเนตที่ความเข้มข้น 100 ไมโครโมลาร์ เป็นเวลา 28 วัน ให้ปริมาณอัลลิซินสูงที่สุค คือ 3.202 ± 0.240 มิลลิกรัมต่อกรัมน้ำหนักสด และ 11.793 ± 0.335 มิลลิกรัมต่อกรัมน้ำหนักแห้ง ตามลำดับ ในทางกลับกันไม่พบอัลลิซินในกลุ่มควบคุมของแคลลัสกระเทียม ใช้แคลลัสที่ถูกกระตุ้น ด้วยเมทิลจัสโมเนตที่ความเข้มข้น 100 ไมโครโมลาร์เป็นเวลา 28 วัน มาแยกอัลลิซินด้วยคอลัมน์ โครมาโทกราฟี และ ระบุอัตลักษณ์ โคยนิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์สเปกโทรสโคปี ผลการทดลอง ยืนยันว่าแคลลัสกระเทียมที่ถูกกระตุ้นด้วยเมทิลจัสโมเนตมีอัลลิชิน โดยแคลลัสที่ถูกกระตุ้นนี้ นับเป็น แหล่งใหม่ของอัลลิซินที่สามารถผลิตได้มากกว่า และ ในเวลาที่สั้นกว่าในธรรมชาติ | en_US |
Appears in Collections: | GRAD-Health Sciences: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
629931010 จีรภรณ์ จิตรพันธ์.pdf | 10.42 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.