Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79309
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐิติวุฒิ บุญยวงศ์วิวัชร-
dc.contributor.authorวีระชาติ ทาลึen_US
dc.date.accessioned2023-12-12T15:47:26Z-
dc.date.available2023-12-12T15:47:26Z-
dc.date.issued2565-03-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79309-
dc.description.abstractThe purpose of this study was to study the role of the department of provincial administration or the sub-district headmen and the village headmen in implementing the policy to prevent and solve forest fire and smog problems and to study the problems, obstacles in driving, preventing and solving forest fire and smog problems of the department of provincial administration or the sub-district headmen and the village headmen in Ban Hong District, Lamphun Province. The research study was a qualitative research study focusing on studying areas at risk of forest fires and smog every year which is a case study area of Ban Hong District, Lamphun Province. The data was collected from 66 participants in a specific group discussion, collected from 60 in-depth interviews and 6 key informants. The results of the study found that In terms of action and participation, it was found that the department of provincial administration had concrete results in preventing and solving forest fires and smog problems in several areas, including public relations to create understanding of the impact of forest fires and smoke continuously as well as publicizing the fuel management period in the area so that people know the management guidelines in each sub-district during severe forest fires and smog. There is also cooperation from various government agencies in organizing proactive activities by knocking on doors to aise awareness among local residents and performing duties and setting up checkpoints or forest fire checkpoints in each village. There are also ongoing patrols in the area, the preparation of fuel managementplans, composting activities to reduce open-air burning, as well as the establishment of fire prevention lines to prevent the spread of wildfires. In terms of participation, it was found that the key roles included village leaders, communities or village groups such as the sub-district headmen, the sub- district headmen's assistant, the village committee, the village security team, and the village health volunteers. These groups of people will be involved in the problem recognition process, fuel management planning and participation in all activities. Others will only participate in certain activities, such as composting to reduce open-space burning and forest fire breakouts. From other aspects of the study, it was found that the department of provincial administration's strengths were they are local people, therefore, they know the topography very well. As a result, they are able to reach the heat-producing area before other units. They are known to people who are harvesting forest products or people who have farmland adjacent to forest areas. But they have disadvantages. Most of the people who participated in the forest fire and smog solving activities were only the village leaders especially village committee or village security team. The general public or volunteers in the area did not pay much attention to activities related to forest fires and smog. The difference between the department of provincial administration and other departments is that the department of provincial administration exists in every village, so they know the area and condition of the problems in the area very well. Other departments or government agencies can create only a single team each working on forest fires and smog but they must be responsible for the whole district, therefore they have to rely mainly on local government or village level. Problems, Obstacles and Suggestions - Administrative divisions at the local level overall need more government budget support, as well as the supplies and equipment needed to tackle forest fires and smog. Budget support from the Provincial Administrative Organization (PAO) should be seriously supported in order to make forest fire management more effective. In addition, people in villages at risk of wildfires and severe smog every year should be employed. Other benefits should also be provided to firefighting teams on duty in the event of injury or death. Furthermore, each district should have a meeting on the fuel management or the absolutely refrain from burning and sets a period of fuel management in each sub- district to be consistent with the actual nature of the area.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectไฟป่าen_US
dc.subjectหมอกควันen_US
dc.titleบทบาทของฝ่ายปกครองในการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่า และหมอกควันกรณีศึกษาอำเภอบ้านโฮ่งจังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeThe Role of the Department of Provincial Administration in preventing and solving forest fire and haze problems: a case study of Ban Hong District, Lamphun Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการบริหารรัฐกิจ -- บ้านโฮ่ง (ลำพูน)-
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น -- บ้านโฮ่ง (ลำพูน)-
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น -- การประชาสัมพันธ์-
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่นกับนโยบายสิ่งแวดล้อม-
thailis.controlvocab.thashไฟป่า -- การป้องกันและควบคุม-
thailis.controlvocab.thashไฟป่า-
thailis.controlvocab.thashหมอกควัน -- การป้องกันและควบคุม-
thailis.controlvocab.thashหมอกควัน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของฝ่ายปกครอง หรือกำนัน ผู้ใหญ่บ้านในการดำเนิน นโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน และศึกษาถึงปัญหา อุปสรรคในการขับเคลื่อน การป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันของฝ่ายปกครองหรือกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในพื้นที่อำเภอ บ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน รูปแบบการศึกษาวิจัยเป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมุ่งเน้นศึกษาพื้นที่ที่มีความ เสี่ยงในการเกิดไฟป่าและหมอกควันเป็นประจำทุกปี ซึ่งเป็นพื้นที่กรณีศึกษาอำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน เก็บรวบรวมข้อมูลจากการสนทนากลุ่มเฉพาะ รวม 66 คน เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก รวม 60 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ รวม 6 คน ผลการศึกษาพบว่า ด้านการดำเนินการและ การมีส่วนร่วม พบว่า ฝ่ายปกครองมีผลการดำเนินงาน ป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าและ หมอกควัน อย่างเป็นรูปธรรมในหลายเรื่อง ได้แก่ มีการประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างความเข้าใจถึงผลกระทบของไฟป่าและ หมอกควันอย่างต่อเนื่อง รวมถึงประชาสัมพันธ์ช่วงการ บริหารจัดการเชื้อเพลิงในพื้นที่เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้แนวทางการบริหารจัดการพื้นที่ในแต่ละตำบล ในช่วงที่เกิดไฟป้าและหมอกควันรุนแรงจะร่วมกันกับหน่วยราชการหลายหน่วยงาน จัดกิจกรรมเชิงรุก โดยวิธีเดินเคาะประตูบ้าน เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนที่ในพื้นที่ มีการเข้าเวรยาม ตั้งจุดตรวจ หรือด่านไฟป่าในแต่ละหมู่บ้าน ลาดตระเวน สอดส่องดูแลพื้นที่อย่างต่อเนื่อง มีการจัดทำแผนการบริหาร จัดการเชื้อเพลิง การจัดทำกิจกรรมปุยหมักเพื่อลคการเผาในที่ โล่ง การทำแนวกันไฟเพื่อป้องกันการ ลุกลามของไฟป่า ส่วนด้านการมีส่วนร่วม พบว่า ผู้ที่มีบทบาทสำคัญจะเป็นผู้นำในหมู่บ้าน ชุมชน หรือ กลุ่มต่างในหมู่ อาทิ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน คณะ กรรมการหมู่บ้าน (กม.) ชุดรักษาความปลอดภัย หมู่บ้าน (ชรบ.) อาสาสมัครสาธารมสุขหมู่บ้าน (อสม.) ซึ่งกลุ่มคนเหล่านี้จะมีส่วนร่วมตั้งแต่กระบวนการ การรับรู้ปัญหา การวางแผนบริหารจัดการเชื้อเพลิง การเข้าร่วมกิจกรรมทุกกิจกรรม ส่วนประชาชนอื่น ๆ จะเข้าร่วมเฉพาะกิจรรม การทำปุ๋ยหมักเพื่อลดการเผาในพื้นที่โล่ง การทำแนวกันไฟป่าเป็นตัน นอกจากนี้ จากการศึกษาด้านอื่น พบว่า ฝ่ายปกครองมีจุดเด่น คือ เป็นคนในพื้นที่ รู้จักลักษณะ ภูมิ ประเทศเป็นอย่างดี สามารถเข้าถึงพื้นที่ ที่เกิดความร้อน (Hot Spot) ได้ก่อนหน่วยงานอื่น รู้จักคนที่มีอาชีพหา ของป่า หรือที่มีพื้นที่การเกษตรติดกับพื้นที่ป่า แต่มีจุดด้อย คือ ผู้ที่ร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหา ไฟป่าและ หมอกควัน ส่วนใหญ่จะมีแต่แกนนำในหมู่บ้าน โดยเฉพาะคณะกรรมหมู่บ้าน หรือชุดรักษา ความปลอดภัยหมู่บ้านเป็นหลัก ราษฎรหรือจิตอาสาในพื้นที่ยังให้ความสำคัญกับกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ไฟป่าและ หมอกควันน้อย ส่วนความแตกต่างของฝ่ายปกครองที่ต่างจากหน่วยงานอื่น คือฝ่ายปกครอง มีทุกหมู่บ้าน รู้จักพื้นที่สภาพปัญหาในพื้นที่ได้ดี ส่วนหน่วยงานอื่น หรือองค์กรภาครัฐแต่ละหน่วยมื บุคลากรที่ทำงานด้านการแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันหน่วยงานละ 1 ชุด แต่มีหน้าที่รับผิดชอบทั้ง อำเภอ จึงต้องอาศัยกำลังจากฝ่ายปกครองในระดับพื้นที่หรือหมู่บ้านเป็นหลัก ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ พบว่า ฝ่ายปกครองในระดับพื้นที่ โดยรวมแล้วต้องการ ให้ภาครัฐสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐมากขึ้น รวมถึงวัสดุ/อุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการแก้ปัญหาไฟป่า และหมอกควัน โคยเฉพาะงบประมาณสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อ ให้การจัดการไฟป่า เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น หรือมีการจ้างงานประชาชนในหมู่บ้านเสี่ยงในช่วงที่เกิดปัญหาไฟป่าและหมอก ควันรุนแรงของทุกปี และมีการมอบสวัสดิการอื่น ๆ ให้แก่ชุดดับไฟป่า เมื่อเกิดการบาดเจ็บหรือเสียชีวิต จากการปฏิบัติหน้าที่ การบริหารจัดการเชื้อเพลิง (ชิงเผา) หรืองดเผาเด็ดขาด ควรให้แต่ละอำเภอประชุม กำหนดระยะเวลาการบริหารจัดการเชื้อในแต่ละตำบล เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะพื้นที่จริงen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621932079 วีระชาติ ทาลึ.pdf2.4 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.