Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79279
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Kanokwan Kiattisin | - |
dc.contributor.author | Nichcha Nitthikan | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-12-09T05:32:56Z | - |
dc.date.available | 2023-12-09T05:32:56Z | - |
dc.date.issued | 2023-11 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79279 | - |
dc.description.abstract | Mushrooms are edible fruit bodies of macro-fungi that are valuable food for humans containing high amounts of essential nutrients. Edible mushrooms have secondary metabolites such as phenolic compounds, polysaccharides, and fatty acids that are interesting for application in natural cosmetic and cosmeceutical ingredients. Therefore, this study aimed to determine two different mushrooms; cloud ear mushroom (Auricularia polytricha) and portobello mushroom (Agaricus bisporus) for their attractive bioactive properties: antioxidant, anti-aging, anti-inflammatory properties, skin barrier function, and skin moisturizing effect. Then, the extracts with good bioactivities were selected to develop film forming spray for enhancing the skin barrier function and moisturized the skin. Mushrooms powder was extracted with 95%v/v ethanol to obtain cloud ear mushroom ethanol extract (CE) and portobello mushroom ethanol extract (PE). The residue mushrooms powder was then reextracted with hot water to obtain cloud ear mushroom water extract (CW) and portobello mushroom water extract (PW). The results showed that CW exhibited the highest total polysaccharide content of 748.20 ± 0.36 mg glucose/g extract. While PE and CE presented high levels of total phenolic and flavonoid contents. From HPLC analysis, the chromatograms of mushroom extracts showed the major constituents of gallic acid and ergothioneine. Gallic acid and ergothioneine were found significantly higher in PE than other extracts. Moreover, PE possessed significantly outstanding DPPH, ABTS scavenging activities, and FRAP reducing power when compare to other extracts. CW showed a high ability to inhibit hyaluronidase enzyme, whereas PE and CE presented the outstanding to delay collagen and elastin breakdown by collagenase and elastase inhibition activities. Cytotoxicity of the extracts was tested by MTT assay, all the mushroom extracts expressed more than 80% cell viability at the highest concentration 300 μg/mL on HaCaT cells, which were non-cytotoxic. PE strongly inhibited pro-inflammation cytokine including IL-6 and TNF-α that demonstrated a skin protection effect and decreased inflammation on HaCaT cells. CW enhanced skin hydration by increasing level of filaggrin. On the other hand, PE exhibited the highest level of aquaporin-3 on HaCaT cells. Therefore, PE was selected as a natural active ingredient to prevent inflammation, antioxidant, and anti-aging while the CW was selected as natural polymer for developing film forming spray (FFS). The FFS was formulated using 0.74%w/w CW, 1.38%w/w sodium polystyrene sulfonate, and 0.87%w/w glycerin. Film forming spray containing 0.5%w/w PE (PE-FFS) was evaluated physical appearance, drying time, occlusive factor, spray pattern, in vitro skin permeation, and hydration skin test in human volunteers. The results showed that the PE-FFS has a transparent thin film with drying time as 2.21 min and occlusive factor as 17.67%. It has a good spray pattern in spherical spots. It has good skin permeation with the long-lasting effect and increasing skin hydration after 4 weeks of application. In conclusion, the PE-FFS is a natural film forming spray formulation that can help to increase moisturizer for dry skin in elderly. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Development of film forming spray containing Auricularia polytricha and Agaricus bisporus extracts for skin barrier function improvement in elderly and dry skib | en_US |
dc.title.alternative | การพัฒนาสเปรย์ชนิดก่อฟิล์มผสมสารสกัดเห็ดหูหนูเผือกและเห็ดพอร์โตเบลโลเพื่อฟื้นฟูหน้าที่ในการปกป้องผิวในผู้สูงวัยและผิวแห้ง | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Mushrooms | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Fungi | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Plant extracts | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Skin | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | เห็ดเป็นกลุ่มของเชื้อราที่มีขนาดใหญ่หลายชนิด ที่เป็นอาหารมีคุณค่าสำหรับมนุษย์และมีสารอาหารที่จำเป็นในปริมาณสูง เห็ดที่รับประทานได้ประกอบไปด้วยสารทุติยภูมิ เช่น สารประกอบฟีนอล พอลิแซ็กคาไรด์และกรดไขมัน ซึ่งเป็นที่น่าสนใจในการนำไปใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องสำอางธรรมชาติและเวชสำอาง ดังนั้น การศึกษานี้มีจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเห็ด 2 ชนิด ได้แก่ เห็ดหูหนูเผือก (Auricularia polytricha) และเห็ดพอร์โตเบลโล (Agaricus bisporus) โดยศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพ ได้แก่ ฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่น ฤทธิ์ชะลอวัย ฤทธิ์ต้านการอักเสบ การปกป้องผิวหนังและการเพิ่มความชุ่มชื้นผิว เพื่อคัดเลือกเห็ดที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพที่ดีมาพัฒนาสเปรย์ชนิดก่อฟิล์มที่มีสารสกัดจากเห็ดเพื่อช่วยเพิ่มความชุ่มชิ้นผิวและปกป้องผิว โดยทำการสกัดเห็ดด้วยเอทานอล 95%v/v จึงได้สารสกัดเห็ดหูหนูเผือกที่สกัดด้วยเอทานอล (CE) และสารสกัดเห็ดพอร์โตเบลโลที่สกัดด้วยเอทานอล (PE) จากนั้นนำเห็ดจากการสกัดด้วยเอทานอลมาสกัดอีกครั้งด้วยนํ้าร้อน จึงได้สารสกัดเห็ดหูหนูเผือกที่สกัดด้วยนํ้า (CW) และสารสกัดเห็ดพอร์โตเบลโลที่สกัดด้วยนํ้า (PW) จากผลการศึกษาพบว่าสารสกัด CW มีปริมาณพอลิแซ็กคาไรด์รวมสูงสุด คือ 748.20 ± 0.36 mg glucose/g extract ในขณะที่สารสกัด PE และ CE มีปริมาณฟีนอลิกรวมและฟลาโวนอยด์รวมในปริมาณมาก เมื่อนำสารสกัดเห็ดวิเคราะห์ด้วยโครมาโตกราฟีโครมาโตกราฟีของเหลวประสิทธิภาพสูง พบว่าสารสกัดเห็ดมีสาร gallic acid และ ergothioneine เป็นองค์ประกอบหลัก ซึ่งสาร gallic acid และ ergothioneine พบปริมาณสูงในสารสกัด PE อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับสารสกัดเห็ดอื่นๆ นอกจากนี้ สารสกัด PE ยังสามารถกำจัดอนุมูลอิสระ DPPH ABTS และ FRAP ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับสารสกัดอื่นๆ สารสกัด CW สามารถยับยั้งเอนไซม์ไฮยาลูโรนิเดสได้ดีในขณะที่สารสกัด PE และ CE สามารถชะลอการสลายคอลลาเจนและอิลาสติน ด้วยการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์คอลลาจีเนสและอิลาสเทส เมื่อนำสารสกัดเห็ดที่มาศึกษาความเป็นพิษต่อเซลล์ HaCaT ด้วยวิธี MTT พบว่าสารสกัดเห็ดไม่เป็นพิษต่อเซลล์แสดงความมีชีวิตของเซลล์มากกว่า 80% ที่ความเข้มข้นสูงสุด 300 μg/mL สารสกัด PE สามารถยับยั้งสารเหนี่ยวนำให้เกิดการอักเสบ ได้แก่ IL-6 และ TNF-α ซึ่งสามารถช่วยปกป้องผิวหนังและลดการอักเสบใน HaCaT เซลล์ สารสกัด CW ช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับผิวโดยการเพิ่มระดับ Filaggrin ในเซลล์ ในขณะที่สารสกัด PE ช่วยเพิ่ม aquaporin-3 ในเซลล์ ดังนั้นสารสกัด PE จึงถูกคัดเลือกเพื่อนำมาใช้เป็นสารออกฤทธิ์จากธรรมชาติ สำหรับป้องกันการอักเสบ ต้านอนุมูลอิสระและชะลอวัย ส่วนสารสกัด CW ถูกนำมาใช้เป็นพอลีเมอร์ธรรมชาติสำหรับการพัฒนาสเปรย์ชนิดก่อฟิล์ม (Film forming spray) หรือ FFS โดยมีส่วนผสม คือ สารสกัด CW (0.74% w/w), sodium polystyrene sulfonate (1.38%w/w) และ glycerin (0.87%w/w) จากนั้นเตรียมตำรับสเปรย์ชนิดก่อฟิล์มทีมีสารสกัด PE (0.5% w/w) หรือ PE-FFS นำตำรับมาประเมินลักษณะทางกายภาพ ระยะเวลาการแห้ง ค่าการกักเก็บความชุ่มชื้น รูปแบบสเปรย์ การซึมผ่านผิวหนังและทดสอบการเพิ่มความชุ่มชื้นในอาสาสมัคร พบว่าตำรับ PE-FFS มีลักษณะฟิล์มบางและโปร่งใส มีค่า ระยะเวลาการแห้ง คือ 2.21 นาที มีค่าการกักเก็บความชุ่มชื้น คือ 17.67% ตำรับ PE-FFS มีรูปแบบการพ่นที่ดีเป็นจุดทรงกลม นอกจากนี้ตำรับ PE-FFS มีประสิทธิภาพในการซึมผ่านผิวหนังดีอย่างต่อเนื่องและมีศักยภาพในการเพิ่มความชุ่มชื้นให้ผิวหนัง หลังจากการใช้ 4 สัปดาห์ โดยผลลัพธ์ทั้งหมดแสดงให้เห็นว่าตำรับ PE-FFS เป็นตำรับสเปรย์ชนิดก่อฟิล์มธรรมชาติที่สามารถช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับผิวแห้งในผู้สูงอายุได้ | en_US |
Appears in Collections: | PHARMACY: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621051004-NICHCHA NITTHIKAN.pdf | 2.37 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.