Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79231
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนิดา จันทโสภีพันธ์-
dc.contributor.advisorโรจนี จินตนาวัฒน์-
dc.contributor.authorสุกัญญา ตุลพงษ์en_US
dc.date.accessioned2023-12-02T04:07:42Z-
dc.date.available2023-12-02T04:07:42Z-
dc.date.issued2566-08-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79231-
dc.description.abstractThe COVID-19 pandemic is a global outbreak affecting people around the world. COVID-19 vaccines are a significant tool to provide disease protection and reduce serious illness and death rates. Using the Health Belief Model as a theoretical framework, this study aimed to 1) determine COVID-19 vaccination intention, and 2) identify factors predicting COVID-19 vaccination intention among unvaccinated older adults. Independent variables included perceived susceptibility to COVID-19, perceived seriousness of COVID-19, perceived benefits of COVID-19 vaccines, perceived barriers to COVID-19 vaccination, received recommendations from health care providers, and knowledge about COVID-19. Participants were 120 unvaccinated older adults living in Chondaen district, Phetchabun province, who were recruited using convenience and snowball sampling approaches during December 2022 to February 2023. Data were analyzed using logistic regression analysis. Results demonstrated that: 1. The mean intention score of unvaccinated older adults was 3.57 (S.D. = 3.18), ranging from 0 to 10. 2. Increased perceived susceptibility to COVID-19 was significantly associated with an increased possibility of COVID-19 vaccination intention among older adults (OR = 1.48, 95% CI = 1.02-2.13). 3. Increased perceived benefits of COVID-19 vaccines was significantly associated with an increase in the likelihood of COVID-19 vaccination intention among older adults (OR = 1.33, 95% CI = 1.01-1.77). Findings from this study provide basic information and direction for nurses and health care providers in designing health services to promote the uptake of COVID-19 vaccines among unvaccinated or incompletely vaccinated older adults in order to reduce severe illness and deaths.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยทำนายความตั้งใจในการฉีดวัคซีนโควิด-19 ของผู้สูงอายุ ที่ยังไม่เคยฉีดวัคซีนในภาคเหนือของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeFactors predicting COVID-19 vaccination intention of unvaccinated older adults in Northern Thailanden_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashวัคซีนโควิด-19-
thailis.controlvocab.thashโควิด-19 (โรค) -- การให้วัคซีน-
thailis.controlvocab.thashการติดเชื้อโคโรนาไวรัส-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- เพชรบูรณ์-
thailis.controlvocab.thashโรคติดต่อ -- การป้องกัน-
thailis.controlvocab.thashโรคระบาด -- การป้องกัน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคโควิด-19 เป็นโรคระบาดที่ส่งผลต่อการดำรงชีวิตของประชากรทั่วโลก วัคซีนโควิด-19 เป็นเครื่องมือสำคัญในการป้องกันโรค ลดความรุนแรงของโรค และลดอัตราตายจากโรค การวิจัยแบบหาความสัมพันธ์เชิงทำนายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความตั้งใจในการฉีดวัคซีนโควิด-19 และ 2) ศึกษาปัจจัยทำนายความตั้งใจในการฉีดวัคซีนโควิด-19 ในผู้สูงอายุที่ยังไม่เคยฉีดวัคซีนโควิด-19 ได้แก่การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรคโควิด-19 การรับรู้ความรุนแรงของโรคโควิด–19 การรับรู้ประโยชน์ของวัคซีนโควิด–19 การรับรู้อุปสรรคของการได้รับวัคซีนโควิด–19 การได้รับคำแนะนำเรื่องการได้รับวัคซีนโควิด–19 จากบุคลากรทางการแพทย์ และความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด–19 โดยใช้กรอบแนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model) กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุที่ยังไม่เคยได้รับการฉีดวัคซีนโควิด-19 ในอำเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 120 ราย ผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบตามความสะดวกและการบอกต่อแบบสโนว์บอลล์ เก็บข้อมูลระหว่างเดือนธันวาคม พ.ศ. 2565 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติค (logistic regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. คะแนนเฉลี่ยความตั้งใจในการฉีดวัคซีนโควิด-19 ของผู้สูงอายุที่ยังไม่เคยฉีดวัคซีนเท่ากับ3.57 (S.D. = 3.18) จากคะแนนต่ำสุดเท่ากับ 0 และคะแนนสูงสุดเท่ากับ 10 2. ผู้สูงอายุที่มีการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรคโควิด–19 ที่เพิ่มขึ้น มีโอกาสมีความตั้งใจในการฉีดวัคซีนโควิด-19 สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (OR = 1.48, 95% CI = 1.02-2.13) 3. ผู้สูงอายุที่มีการรับรู้ประโยชน์ของวัคซีนโควิด–19 ที่มากขึ้น มีโอกาสมีความตั้งใจในการฉีดวัคซีนโควิด-19 สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (OR = 1.33, 95% CI = 1.01-1.77) ผลการศึกษาครั้งนี้ทำให้พยาบาลหรือบุคลากรทางด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องได้ความรู้พื้นฐานและแนวทางในการออกแบบการให้บริการสุขภาพเพื่อส่งเสริมผู้สูงอายุที่ยังไม่เคยได้รับวัคซีน หรือยังได้รับวัคซีนไม่ครบให้มารับการฉีดวัคซีนโควิด-19 เพื่อลดอัตราการป่วยและเสียชีวิตของผู้สูงอายุต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631231199- สุกัญญา ตุลพงษ์.pdf2.85 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.