Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79227
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรังสิยา นารินทร์-
dc.contributor.advisorนพมาศ ศรีเพชรวรรณดี-
dc.contributor.authorศุภวรรณ ฦาหาญen_US
dc.date.accessioned2023-12-02T03:45:35Z-
dc.date.available2023-12-02T03:45:35Z-
dc.date.issued2566-07-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79228-
dc.description.abstractThis quasi-experimental research study, with a two-group pretest-posttest design, aimed to study the effect of a program for enhancing health literacy for fall prevention on practices of recurrent fall prevention of elderly people in communities. The participants were 50 elderly people who had a history of falling more than once a year, recruited using purposive sampling, and assigned to an experimental group (n=25) or a control group (n=25). The study was conducted from April to June 2023. The research instruments consisted of 1) an 8-week program for enhancing health literacy for fall prevention on practices of recurrent fall prevention; 2) media and a guidebook on enhancing health literacy for fall prevention enhancing program on practices of recurrent fall prevention among the elderly in the community; and 3) an interview questionnaire on the practices of recurrent fall prevention among the elderly in the community, which was examined for content validity by six experts, demonstrating a content validity index of 0.97 and a Cronbach's alpha coefficient of confidence of 0.75. Data were analyzed using descriptive statistics, paired sample t-test, and independent t-test. The results revealed that the experimental group had higher mean scores for practices of recurrent fall prevention than before receiving the program for enhancing health literacy for fall prevention and higher scores than those of the control group, with statistical significance (p<0.001). The results from this research revealed that community nurse practitioners and healthcare teams can apply the health literacy enhancement program as a guideline for promoting health literacy and effective practices in preventing recurrence of falls among the elderly in communities.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโปรแกรมเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันการหกล้มen_US
dc.subjectการปฏิบัติการป้องกันการหกล้มen_US
dc.subjectผู้สูงอายุในชุมชนen_US
dc.subjectความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันการหกล้มen_US
dc.subjectหกล้มในผู้สูงอายุในชุมชนen_US
dc.subjectการหกล้มซ้ำen_US
dc.titleผลของโปรแกรมเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ เพื่อป้องกันการหกล้มต่อการปฏิบัติการป้องกัน การหกล้มซ้ำของผู้สูงอายุในชุมชนen_US
dc.title.alternativeEffect of the health literacy for fall prevention enhancing program on practices of recurrent fall prevention among elderly in communitiesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- บาดแผลและบาดเจ็บ-
thailis.controlvocab.thashการหกล้มในวัยสูงอายุ-
thailis.controlvocab.thashการหกล้ม-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- การดูแล-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi-experimental research) ชนิดสองกลุ่ม วัดก่อนและหลังการทดลอง (two group pretest-posttest design) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันการหกล้มต่อการปฏิบัติการป้องกันการหกล้มซ้ำของผู้สูงอายุในชุมชน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่เคยมีประวัติหกล้มมากกว่า 1 ครั้งใน 1 ปี จำนวน 50 คน คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 25 คน รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือน เมษายน ถึงมิถุนายน พ.ศ. 2566 เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย 1) โปรแกรมเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันการหกล้ม ระยะเวลา 8 สัปดาห์ 2) สื่อและคู่มือเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันการหกล้มซ้ำของผู้สูงอายุในชุมชน และ 3) แบบสัมภาษณ์การปฏิบัติการป้องกันการหกล้มซ้ำของผู้สูงอายุในชุมชนซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรงด้านเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 6 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา 0.97 และค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค 0.75 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติการทดลองแบบจับคู่และสถิติการเปรียบเทียบแบบรวมกลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนการปฏิบัติการป้องกันการหกล้มซ้ำสูงขึ้นกว่าก่อนได้รับโปรแกรมเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันการหกล้ม และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ผลการวิจัยครั้งนี้ พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนและทีมสุขภาพสามารถนำโปรแกรมเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อป้องกันการหกล้มไปเป็นแนวทางในการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการปฏิบัติการป้องกันการหกล้มซ้ำของผู้สูงอายุในชุมชนที่มีประสิทธิภาพได้en_US
Appears in Collections:NURSE: Theses
NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641231133-ศุภวรรณ ฦาหาญ.pdf2.15 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.