Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79218
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุลักษณ์ สุมิตสวรรค์ | - |
dc.contributor.author | พชร ใจมา | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-11-24T01:29:00Z | - |
dc.date.available | 2023-11-24T01:29:00Z | - |
dc.date.issued | 2566-11 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79218 | - |
dc.description.abstract | The problem of smog and air pollution from burning agricultural waste affects health, quality of life, economy, and society. Reducing burning in agricultural areas by encouraging farmers to grow animal feed corn without burning and planting replacement crops in development project areas. High area like the Pang Daeng Royal Project in and comparative analysis of heat points and air pollution from burning agricultural materials in the promoted areas. By studying data from the Terra and Aqua satellites, the Moderate Resolution Imaging Spectroradiometer (MODIS) system, and the Visible Infrared Imaging Radiometer Suite (VIIRS) system, tracking small burned areas from land use activities in 2006, 2012, and 2020. Translation of data classification using Landsat 7 satellite images to be used as location information for tracking burning spots in corn planting areas during January. Until March To assess pollution from the burning of agricultural materials, it was found that the number of hot spots in corn growing areas has a continuous trend of decreasing from 4 spots in 2006 to 3 spots in 2012. In 2020, no hot spots were found. As for changes in land use from satellite images, in 2006, 2012, and 2020, there were 3,577 rai, 4,134 rai, and 3,317 rai of corn planted, respectively. As for the corn planting area that was burned in 2006, the amount was 66.24 rai, and in 2012, the amount was 473.75 rai. In 2020, no burning of agricultural waste was found. The results of the air pollution assessment found that in 2006, carbon dioxide (CO2) emissions were 27.53 tons/year, carbon monoxide (CO) emissions were 2.51 tons/year, nitrogen oxide (NOx) emissions were 0.04 tons/year., The amount of sulfur dioxide (SO2) gas emissions was 0.01 tons/year and the total amount of dust was 0.09 tons/year and PM2.5 dust was 0.07 tons/year. In 2012, there was a decrease in pollution emissions. There is a total of 212.45 tons of agricultural waste that is burned. There are carbon dioxide (CO2) emissions of 259 tons/year, carbon monoxide (CO) emissions of 23.59 tons/year, and nitrogen oxide (NOx) emissions of 0.34. tons/year, sulfur dioxide (SO2) emissions of 0.11 tons/year and a total amount of particulate matter of 0.87 tons/year and PM2.5 dust of 0.69 tons/year. In 2020, there was no burning in the corn growing area. This is because since 2014, farmers have begun to change the format for growing animal feed maize as a monoculture. is the disposal of agricultural waste by burning in preparation for planting in the next round. It involves planting corn overlapping with legumes and without burning crop residue. The cultivation of corn for animal feed is a monoculture. It was found that the cost per rai was higher than 3,878 baht per rai and the cost was higher than 6.1 baht per kilogram. The variable costs of labor are higher than 2,340 baht per rai and the cost of fertilizer and medicine is higher than 1,985 baht per rai. When comparing the yield per rai, it is found that the yield is less than 130 kilograms per rai. The benefits of growing crops alongside beans include reducing weed control costs. Reduce burning and prepare the area before planting corn. Increase soil fertility Increase productivity per unit area Reduce soil erosion and forest encroachment, etc. At the same time, help generate income and maintain a sustainable environment, leading to the expansion of success to other areas. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Pollutants | en_US |
dc.subject | Maize | en_US |
dc.subject | burning | en_US |
dc.title | มลสารและจุดความร้อนจากการเผาวัสดุทางการเกษตรในพื้นที่ส่งเสริมการเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แบบไม่เผาและปลูกพืชทดแทน | en_US |
dc.title.alternative | Agricultural waste burning pollutants and fire hotspot in no-burning maize and alternative crops promoted area | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ของเสียทางการเกษตร | - |
thailis.controlvocab.thash | ของเสียทางการเกษตร -- แง่สิ่งแวดล้อม | - |
thailis.controlvocab.thash | วัสดุเหลือใช้จากพืชเศรษฐกิจ | - |
thailis.controlvocab.thash | การเผาหน้าดิน | - |
thailis.controlvocab.thash | อาหารสัตว์จากข้าวโพด | - |
thailis.controlvocab.thash | ข้าวโพด | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ปัญหาหมอกควันและมลพิษทางอากาศจากการเผาเศษวัสดุการเกษตรส่งผลกระทบต่อสุขภาพ คุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ และสังคม การลดการเผาในพื้นที่การเกษตรโดยส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แบบไม่เผาและปลูกพืชทดแทนในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงปางแดงใน และวิเคราะห์เปรียบเทียบจุดความร้อนและมลพิษทางอากาศจากการเผาวัสดุทางการเกษตรในพื้นที่ส่งเสริม โดยศึกษาข้อมูลดาวเทียม Terra และ Aqua ระบบ Moderate Resolution Imaging Spectroradiometer (MODIS) และระบบ Visible Infrared Imaging Radiometer Suite (VIIRS) ติดตามพื้นที่เผาไหม้ที่มีขนาดเล็กจากกิจกรรมการใช้ประโยชนที่ดินในปีพ.ศ. 2549 ปีพ.ศ. 2555 และปี พ.ศ. 2563 โดยการแปลจำแนกประเภทข้อมูลด้วยภาพถ่ายดาวเทียม Landsat 7 เพื่อใช้เป็นข้อมูลระบุตำแหน่งในการติดตามจุดเผาไหม้ของพื้นที่ปลูกข้าวโพดช่วงเดือนมกราคม ถึงเดือนมีนาคม เพื่อประเมินมลพิษจากการเผาวัสดุทางการเกษตร พบว่า จำนวนจุดความร้อนในพื้นที่ปลูกข้าวโพดมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องจากจำนวน 4 จุด ในปีพ.ศ. 2549 เหลือจำนวน 3 จุด ในปีพ.ศ. 2555 ส่วนในปีพ.ศ. 2563 ไม่พบจุดความร้อน ส่วนการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินจากภาพถ่ายดาวเทียม ปีพ.ศ.2549 ปีพ.ศ.2555 และปีพ.ศ.2563 มีพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จำนวน 3,577 ไร่ 4,134 ไร่และ 3,317 ไร่ ตามลำดับ ส่วนพื้นที่ปลูกข้าวโพดที่เกิดการเผาในปีพ.ศ.2549 จำนวน 66.24 ไร่ ปีพ.ศ.2555 จำนวน 473.75 ไร่ ส่วนในปีพ.ศ.2563 ไม่พบการเผาเศษวัสดุทางการเกษตร ผลการประเมินมลพิษทางอากาศพบว่าในปีพ.ศ.2549 มีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2) 27.53 ตัน/ปี, ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) 2.51 ตัน/ปี, ปริมาณการปล่อยก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) 0.04 ตัน/ปี, ปริมาณการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) 0.01 ตัน/ปี, ปริมาณฝุ่นละอองรวม 0.09 ตัน/ปี และฝุ่นละออง PM2.5 0.07ตัน/ปี ในปีพ.ศ.2555 มีการปล่อยมลพิษลดลง มีปริมาณเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรที่ถูกเผาไหม้จำนวน 212.45 ตัน มีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์(CO2) 259 ตัน/ปี,ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) 23.59 ตัน/ปี, ปริมาณการปล่อยก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) 0.34 ตัน/ปี, ปริมาณการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) 0.11 ตัน/ปี, ปริมาณฝุ่นละอองรวม 0.87 ตัน/ปี และฝุ่นละออง PM2.5 0.69 ตัน/ปี ส่วนในปี 2563 ไม่มีการเผาไหม้ในพื้นที่ปลูกข้าวโพด เนื่องจากตั้งแต่ปี 2557 เกษตรกรเริ่มปรับเปลี่ยนรูปแบบการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แบบเชิงเดี่ยว คือการกำจัดเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรโดยวิธีการเผาเพื่อเตรียมปลูกในรอบถัดไป เป็นการปลูกข้าวโพดเหลื่อมด้วยพืชตระกูลถั่วและไม่เผาเศษพืช ผลเปรียบเทียบการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แบบเชิงเดี่ยว คือการกำจัดเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรโดยวิธีการเผาเพื่อเตรียมปลูกในรอบถัดไป กับการปลูกข้าวโพดเหลื่อมด้วยพืชตระกูลถั่วและไม่เผาเศษพืช พบว่ามีต้นทุนต่อไร่สูงกว่า 3,878 บาทต่อไร่ และมีต้นทุนสูงกว่า 6.1 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งต้นทุนผันแปรที่เป็นค่าแรงงานสูงกว่า 2,340 บาทต่อไร่ และค่าปุ๋ยและยาสูงกว่า 1,985 บาทต่อไร่ ส่วนเมื่อเปรียบเทียบผลผลิตต่อไร่พบว่าให้ผลผลิตน้อยกว่า 130 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งประโยชน์ของการปลูกแบบเหลื่อมถั่วนั้น เช่น ลดต้นทุนการกำจัดวัชพืช ลดการเผาเตรียมพื้นที่ก่อนปลูกข้าวโพด เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน เพิ่มผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่ ลดการพังทลายของหน้าดินและบุกรุกทำลายป่า เป็นต้น ในขณะเดียวกันช่วยสร้างรายได้และควบคู่กับการรักษาสภาพแวดล้อมให้ยั่งยืนสู่การขยายผลความสำเร็จสู่พื้นที่อื่นๆ ต่อไปได้ | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620632052- พชร ใจมา.pdf | 11.42 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.