Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79160
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิยดา กาวีวงศ์ | - |
dc.contributor.author | พชร ชูเกียรติขจร | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-11-09T01:20:10Z | - |
dc.date.available | 2023-11-09T01:20:10Z | - |
dc.date.issued | 2566-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79160 | - |
dc.description.abstract | This independent research aims to 1) study the organizational culture that affecting the personnel performance efficiency of software businesses in Chiang Mai province. and 2) explore approaches to improving the personnel performance efficiency of software businesses in Chiang Mai province. This independent study is a quantitative research that has collected data through an online questionnaire with 385 samples using the frequency, mean, percentage and standard deviation to clarify descriptive statistics of various variables in the research such as finding the level of opinions on organizational culture and performance and using Multiple Regression Analysis for analyzing the organizational culture that affecting the personnel performance efficiency of software businesses in Chiang Mai province. The result of independent research revealed that 1) the sample group had the highest level of opinion on organizational culture as the adhocracy culture followed by clan culture, hierarchical culture, and the market culture respectively 2) software business personnel in Chiang Mai province have the highest opinion on time efficiency, followed by quantity and quality efficiency, and the cost efficiency aspect has the lowest score. 3) The clan culture and adhocracy culture have an impact on the personnel performance efficiency of software businesses in Chiang Mai province, with clan culture having the greatest influence. 4) market culture has the least relationship with the performance. Therefore, organizations that focus on personnel performance efficiency should promote the adoption of clan and/or adhocracy culture, or at least improve and apply with some dimensions of these two cultural patterns in business management and operations, in line with the current vision, mission, and goals of the organization. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | วัฒนธรรมองค์กร | en_US |
dc.title | วัฒนธรรมองค์กรที่มีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรธุรกิจซอฟต์แวร์ในจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Organizational culture affecting the personnel performance efficiency of software businesses in Chiang Mai province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ซอฟต์แวร์ | - |
thailis.controlvocab.thash | ธุรกิจขนาดย่อม | - |
thailis.controlvocab.thash | วัฒนธรรมองค์การ | - |
thailis.controlvocab.thash | บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาวัฒนธรรมองค์กรที่มีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรธุรกิจซอฟต์แวร์ในจังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรธุรกิจซอฟต์แวร์ในจังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และได้ทำการรวบรวมข้อมูลโดยการออกแบบสอบถามออนไลน์ สุ่มตัวอย่างในกลุ่มบุคลากรธุรกิจซอฟต์แวร์ในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวนทั้งสิ้น 385 ตัวอย่าง โดยใช้ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในการอธิบายข้อมูลเชิงพรรณนาของตัวแปรต่าง ๆ ในการศึกษา ได้แก่ ระดับความคิดเห็นต่อวัฒนธรรมองค์กร และระดับความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพ และใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regress Analysis) ในการวิเคราะห์วัฒนธรรมองค์กรที่มีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรธุรกิจซอฟต์แวร์ในจังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษาค้นคว้าอิสระ พบว่า 1) บุคลากรธุรกิจซอฟต์แวร์ในจังหวัดเชียงใหม่มีความคิดเห็นต่อวัฒนธรรมองค์กรแบบปรับตัวมากที่สุด ซึ่งรองลงมาคือ วัฒนธรรมแบบเครือญาติ และวัฒนธรรมแบบลำดับชั้น ตามลำดับ และพบว่าวัฒนธรรมแบบการตลาดมีค่าเฉลี่ยอยู่ในอันดับสุดท้าย 2) บุคลากรธุรกิจซอฟต์แวร์ในจังหวัดเชียงใหม่มีความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพด้านเวลามากที่สุด รองลงมาคือ ด้านปริมาณกับด้านคุณภาพ และพบว่าด้านค่าใช้จ่ายมีค่าเฉลี่ยอยู่ในอันดับสุดท้าย 3) วัฒนธรรมองค์กรแบบเครือญาติ และวัฒนธรรมองค์กรแบบปรับตัวมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการทำงานของบุคลากรธุรกิจซอฟต์แวร์ในจังหวัดเชียงใหม่ โดยที่วัฒนธรรมองค์กรแบบเครือญาติมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการทำงานมากที่สุด 4) วัฒนธรรมองค์กรแบบการตลาดมีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในการทำงานน้อยที่สุด ฉะนั้นองค์กรที่มุ่งเน้นประสิทธิภาพในการทำงานของบุคลากร จึงควรส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมแบบเครือญาติ และ/หรือวัฒนธรรมองค์กรแบบปรับตัวมาใช้กับองค์กรอย่างจริงจัง หรืออย่างน้อยทางองค์กรควรมีการปรับปรุง ประยุกต์นำเอามิติองค์ประกอบทางวัฒนธรรมส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมทั้ง 2 รูปแบบนี้มาใช้ในการบริหารกับการดำเนินงานร่วมกับรูปแบบวัฒนธรรมขององค์กรในปัจจุบันที่มีมาแต่เดิมที่ยังคงสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายขององค์กร | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
641532090-พชร ชูเกียรติขจร.pdf | 1.98 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.