Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79127
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorViboon Changrue-
dc.contributor.advisorTanachai Pankasemsuk-
dc.contributor.advisorSangtiwa Suriyong-
dc.contributor.authorLaongdown Sanglaen_US
dc.date.accessioned2023-10-31T10:24:39Z-
dc.date.available2023-10-31T10:24:39Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79127-
dc.description.abstractPlasma technology which has been applied already evidenced how a large variety of seeds treated with both gaseous and liquid plasmas can be proven to promote seed germination, seedling growth and improve diseased resistance. Presently, plasma activated solution (PAS) is gradually becoming a hot topic in plasma medicine and agricultural aspects due to the better convenient process and environmentally friendly without gaseous phase and a greater degree of mobility than plasma activated water (PAW) and atmospheric cold plasma (CAP) do, respectively. The effect of PAS-H2O2 on black soybean seed cv. Sukhothai 3 (ST.3) and its sprouts' quality were investigated. The results revealed that the optimum PAS-H2O2 treatment condition for base application was acquired with 6 watt UV-C (254 nm. Germicidal UVC) at the constant flow rate of 0.5 lmin-1 which gave more energy (720 Kjm-3) than those of higher flow rate of solution (1.5 lmin-1). The concentration of hydrogen peroxide (H2O2), a substrate of the solution in an alkaline area (1 % sodium bicarbonate) which were 0.05 0.1 0.5 ,and 1.0 % expressed the optimum PAS -H2O2 condition in terms of the best values of physicochemical properties. For individual treatment, using 0.05 % H2O2 concentration at the constant flow rate of 0.5 lmin-1, as well as in combination with hydropriming method by soaking seeds for 5 hours and drying for 72 hours at 40 oC + 1. for 5 minutes of exposure time illustrated the best conditions for improving soybean seed enhancement in terms of seed germination, seed vigor, seedling growth, microorganisms inactivation, and the change of seed coat features. However, in the case of microbial control, the single PAS-H2O2 treatment had more potential than those of the combination methods. In order to save energy and reduce energy costs, the treatment time could be shortened to 1 and 3 minutes and applied with other disease control methods for single treatment and combination with hydropriming, respectively. In addition, the individual PAS-H2O2 treatment condition for the maximum improvement of soybean sprouts both physical appearance and microbial quality especially for Escherichia coli strains could be pretreated seeds by using 0.05 % H2O2 concentration at the constant flow rate of 0.5 lmin-1 for 7 minutes of exposure time. While, household production, the treatment time could be shortened to 5 minutes in order to obtain germinated soybean with a standard germination rate of 90% or higher while maintaining good characteristics of hypocotyl length and high protein content. Therefore, PAS-H2O2 in terms of single treatment and combination with hydropriming method could apply as a beneficial pre-sowing treatment for seed emergence and further development of soybean.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleEffects of plasma activated solution on soybean seed quality and sprout disinfectionen_US
dc.title.alternativeผลของสารละลายพลาสมาต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองและการฆ่าเชื้อในถั่วเหลืองงอกen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshPlasma (Ionized gases)-
thailis.controlvocab.lcshHydrogen peroxide-
thailis.controlvocab.lcshPostharvest Technology-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractเทคโนโลยีพลาสมาถูกนำมาวิจัยในด้านการยกระดับคุณภาพเมล็ดพันธุ์ ทั้งในรูปก๊าซพลาสมาและสารละลายพลาสมา ปัจจุบันสารละลายพลาสมา(plasma activated solution: PAS) ได้รับการตอบรับในการนำมาใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ เช่น ด้านการแพทย์และการเกษตร เนื่องจากเป็นวิธีที่สะดวก รวดเร็วและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยไม่ต้องอาศัยก๊าซเป็นตัวกลางในการเกิดปฏิกิริยาเหมือนกับ น้ำพลาสมา (PAW) และก๊าซพลาสมา รวมถึงสามารถกักเก็บและขนส่งอนุมูลอิสระต่างๆที่เกิดจากปฏิกิริยาได้เมื่อเทียบกับก๊าซพลาสมา โดยเฉพาะพลาสมาเย็นความดันบรรยากาศปกติ การศึกษาผลของสารละลายพลาสมาต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองผิวดำ พันธุ์ สุโขทัย 3 และถั่วเหลืองงอก พบว่า การผลิตสารละลายพลาสมาสำหรับการใช้ประโยชน์เชิงพื้นฐาน เป็นการผลิตโดยใช้เครื่องต้นแบบการผลิตสารละลายพลาสมา ใช้หลอดยูวีซี (ความยาวคลื่น 254 นาโนเมตร ชนิด Germicida) ขนาด 6 วัตต์ ที่อัตราการไหล 0.5 ลิตรต่อนาที ให้พลังงาน 720 กิโลจูลต่อลูกบาศก์เมตร มากกว่าที่อัตราการไหลสูงกว่า (1.5 ลิตรต่อนาที) ในสารละลายไฮโดรเจน เปอร์ออกไซด์ ที่ความเข้มข้นตั้งแต่ 0.05 0.1 0.5 และ 1.0 เปอร์เซ็นต์ เป็นระยะเวลา 15 นาที ในสภาพด่าง (เติม สารโซเดียมไบคาร์บอเนต ที่ความเข้มข้น 1 เปอร์เซ็นต์) ทำให้สารละลายพสามามีคุณสมบัติทางเคมีกายภาพ(physicochemical property) ที่เหมาะสมสำหรับการนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป การนำมาใช้ประโยนช์ในรูปแบบเชิงเดี่ยว พบว่า การใช้สารละลายไฮโดรเจน เปอร์ออกไซด์ ที่ความเข้มข้น ที่เหมาะสม 0.05 เปอร์เซ็นต์ อัตราการไหล 0.5 ลิตรต่อนาที นาน 5 นาที รวมถึงการใช้ร่วมกับการทำไฮโดรพริมมิงในเมล็ด (seed hydropriming) ที่เหมาะสม คือการแช่เมล็ดถั่วเหลือง 5 ชั่วโมงและลดความชื้นที่ 40 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 72 ชั่วโมง ร่วมกับการใช้สารละลายพลาสมา นาน 5นาที สามารถยกระดับคุณภาพเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองผิวดำ ในด้านความงอก ความแข็งแรง การเจริญเติบโตของต้นกล้า การควบคุมเชื้อจุลินทรีย์ และการเปลี่ยนแปลงลักษณะของผิวเมล็ดได้ดีที่สุด แต่การควบคุมเชื้อจุลินทรีย์ในการใช้เชิงเดี่ยว ค่อนข้างมีประสิทธิภาพดีกว่า ในภาคอุตสาหกรรม การลดเวลาให้สั้นลงและใช้ร่วมกับการควบคุมเชื้อจุลินทรีย์อื่นๆ คือ ใช้ 1 นาที และ 3 นาที สำหรับการใช้เชิงเดี่ยวและการใช้ร่วมกับทำไฮโดรพริมมิงในเมล็ด สามารถประหยัดพลังงานและลดต้นทุนด้านพลังงานลง นอกจากนี้ การใช้สารละลายพลาสมาในรูปแบบเชิงเดี่ยวสำหรับปรับปรุงคุณภาพถั่วเหลืองงอก ในระดับที่ดีที่สุด ทั้งทางด้านลักษณะทางกายภาพและการควบคุมเชื้อจุลินทรีย์ โดยเฉพาะ Escherichia coli สามารถปรับปรุงเมล็ดถั่วเหลืองโดยใช้สารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ความเข้มข้น 0.05 เปอร์เซ็นต์ อัตราการไหลของสารละลาย 0.5 ลิตรต่อนาที เป็นเวลา 7 นาที ส่วนการผลิตในครัวเรือน สามารถลดเวลาลงเหลือ 5 นาที เพื่อให้ได้ถั่วงอกที่มีความงอกตามาตรฐาน คือ 90 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไปและมีลักษณะอื่นๆที่ดี คือ ความยาวไฮโปคอทติลและโปรตีนในถั่วงอก ดังนั้น การใช้สารละลายพลาสมา กับเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง ทั้งการใช้รูปแบบเชิงเดียวหรือการใช้ร่วมกับการทำไฮโดรพริมมิง ก่อนการหว่านในสภาพแปลงปลูกจริง จะทำให้เกิดประโยชน์ต่อการงอกและการพัฒนาต้นถั่วเหลืองต่อไปen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610851012 Laongdown Sangla.pdf4.52 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.