Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79077
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดำรงศักดิ์ รินชุมภู-
dc.contributor.authorศิขรินทร์ มัลลิกาวงศ์en_US
dc.date.accessioned2023-10-18T00:50:40Z-
dc.date.available2023-10-18T00:50:40Z-
dc.date.issued2566-09-27-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79077-
dc.description.abstractIn order to reduce the amount of runoff, there are several ways to reduce the environmental Natural and human-induced factors can cause flood disasters in urban areas. Utilizing natural processes such as retention, detention, and infiltration into the groundwater is the least disruptive. It does not destroy the natural ecosystem in line with the principles of WSUD or LID. Developing rain gardens can increase water absorption capacity. This research aims to compare the average infiltration rate per construction cost of rain gardens using a Double Ring Infiltrometer in the engineering faculty area of Chiang Mai University. The study tested four different ratios of soil to sand in the Filter Media Layer. The coarse sand, with an average price of 468 baht per cubic meter, was used as the cost material for construction. The average infiltration rate per construction cost for the four ratios are as follows: the 1:1 ratio is 6.98 millimeters per hour per 100 baht, 1:2 ratio is 7.26 millimeters per hour per 100 baht, 1:3 ratio is 7.66 millimeters per hour per 100 baht, and 1:4 ratio is 7.93 millimeters per hour per 100 baht. It can be observed that as the average infiltration rate increases, the construction cost of rain gardens also increases. However, when determining the soil-to-sand ratio in the Filter Media Layer, consideration should also be given to the choice of plant cover to create a relaxing and recreational space or community park in the area.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสวนซับน้ำฝน, อัตราการซึมน้ำ, อุปกรณ์วัดแบบถังกลมคู่, ต้นทุนการก่อสร้างสวนซับน้ำฝนen_US
dc.titleการเปรียบเทียบอัตราการซึมน้ำเฉลี่ยต่อต้นทุนการก่อสร้างของสวนซับน้ำฝนen_US
dc.title.alternativeComparison of average water infiltration rates per construction costs of rain gardenen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการซึมชะละลาย-
thailis.controlvocab.thashวิศวกรรมโครงสร้าง-
thailis.controlvocab.thashน้ำฝน -- การซึมชะละลาย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการเกิดอุทกภัยน้ำท่วมขังในเขตเมืองนั้นมีปัจจัยหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นสาเหตุทางธรรมชาติหรือสาเหตุจากฝีมือมนุษย์ การอาศัยกระบวนการทางธรรมชาติในการกักเก็บ ชะลอ และระบายน้ำลงสู่ชั้นใต้ดินเป็นวิธีการที่รบกวนธรรมชาติน้อยที่สุดและไม่ทำลายระบบนิเวศธรรมชาติตามหลักการของ WSUD หรือ LID การพัฒนาพื้นที่รับน้ำให้กลายเป็นสวนซับน้ำฝน (Rain Garden) สามารถช่วยให้พื้นที่รับน้ำเพิ่มขึ้น งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอัตราการซึมน้ำเฉลี่ยต่อต้นทุนการก่อสร้างสวนซับน้ำฝน (Rain Garden) โดยทำการทดสอบภาคสนามในพื้นที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยใช้เครื่องมือวัดแบบถังกลมคู่ (Double Ring Infiltrometer) ในการหาค่าอัตราการซึมน้ำเฉลี่ยบนพื้นที่สวนซับน้ำฝนที่มีอัตราส่วนระหว่างดินต่อทรายในชั้น Filter Media Layer แตกต่างกัน 4 อัตราส่วน ในขณะเดียวกันได้ทำการสืบราคาวัสดุที่เป็นต้นทุนสำหรับการปรับปรุงก่อสร้างนั่นก็คือ ทรายหยาบ (Coarse Sand) โดยมีราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 468 บาทต่อลูกบาศก์เมตร จากนั้นจึงนำราคาวัสดุมาคำนวณหาราคาต้นทุนที่ใช้ในการก่อสร้างสวนซับน้ำฝนทั้ง 4 อัตราส่วน ทำการเปรียบเทียบอัตราการซึมน้ำเฉลี่ยต่อต้นทุนการก่อสร้าง ได้ผลลัพธ์ดังต่อไปนี้ อัตราส่วน 1 : 1 มีค่าเท่ากับ 6.98 มิลลิเมตรต่อชั่วโมงต่อ 100 บาท อัตราส่วน 1 : 2 มีค่าเท่ากับ 7.26 มิลลิเมตรต่อชั่วโมงต่อ 100 บาท อัตราส่วน 1 : 3 มีค่าเท่ากับ 7.66 มิลลิเมตรต่อชั่วโมงต่อ 100 บาท และอัตราส่วน 1 : 4 มีค่าเท่ากับ 7.93 มิลลิเมตรต่อชั่วโมงต่อ 100 บาท จะเห็นได้ว่าเมื่อค่าอัตราการซึมน้ำเฉลี่ยเพิ่มขึ้นต้นทุนที่ใช้ในการก่อสร้างสวนซับน้ำฝนก็จะสูงขึ้นตามไปด้วย อย่างไรก็ตามการกำหนดอัตราส่วนผสมระหว่างดินต่อทรายในชั้น Filter Media Layer นั้นควรคำนึงถึงการปลูกพืชพรรณที่ปกคลุมหน้าดินในบริเวณนี้ด้วย เพื่อพัฒนาให้กลายเป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจ หรือสวนสาธารณะในเขตชุมชนต่อไปen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
นายศิขรินทร์ มัลลิกาวงศ์ รหัส 640632030.pdfส่งเล่มค้นคว้าอิสระ ฉบับสมบูรณ์5.91 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.