Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79076
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฑารัตน์ มีสุขโข-
dc.contributor.advisorศรีมนา นิยมค้า-
dc.contributor.authorบุษยมาศ กันเกตุen_US
dc.date.accessioned2023-10-18T00:48:10Z-
dc.date.available2023-10-18T00:48:10Z-
dc.date.issued2023-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79076-
dc.description.abstractOverweight late school-aged children can develop non-communicable diseases and other health issues, which is a serious problem for a nation's public health and requires attention. This quasi-experimental design aimed to compare the eating and physical activity behaviors of late school-aged children who were overweight before and after using a smartphone application for self-management of children and families and to compare the eating and physical activity behaviors between the control and the experimental groups. The study sample consisted of 60 children attending schools under the Northern Regional Office of Education Services, during February to March 2022. The research instruments were 1) a general information questionnaire; 2) an eating behavior questionnaire; 3) a physical activity questionnaire; and 4) a smartphone application for self-management of children and families. The data were analyzed by descriptive and t-test statistics. The results showed that the mean score for eating behavior among overweight late school-aged children after using the smartphone application for children and family self-management was statistically significantly higher than before using the smartphone application and statistically significantly higher than those who did not use the smartphone application (p < .01). The mean score for physical activity behavior among overweight late school-aged children after using the smartphone application for children and family self-management showed no significant difference between groups or within the group (p > .05). The findings indicate that the use of a smartphone application for children and family self-management can improve the eating behavior of late school-aged children who are overweight more appropriately. However, more long-term studies on using smartphone applications are needed to further examine changes in the physical activity behavior of overweight late school-aged children.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของสมาร์ตโฟนแอปพลิเคชันเพื่อการจัดการตนเองของเด็กและครอบครัว ต่อพฤติกรรมการบริโภคและกิจกรรมทางกายในเด็กวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะน้ำหนักเกินen_US
dc.title.alternativeEffects of a smartphone application for children and family self-management on eating and physical activity behaviors among overweight late school-aged childrenen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashน้ำหนักตัว -- การควบคุม-
thailis.controlvocab.thashโรคอ้วนในเด็ก-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค-
thailis.controlvocab.thashสมาร์ทโฟน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภาวะน้ำหนักเกินในเด็กวัยเรียนตอนปลาย เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและปัญหาสุขภาพ ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญของประเทศที่ต้องได้รับการแก้ไข การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นแบบกึ่งทดลอง วัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการบริโภคอาหารและกิจกรรมทางกายของเด็กวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ก่อนและหลังการใช้สมาร์ตโฟนแอปพลิเคชันเพื่อการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัว และเปรียบเทียบพฤติกรรมการบริโภคอาหารและกิจกรรมทางกายระหว่างเด็กวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะน้ำหนักเกินที่ได้ใช้สมาร์ตโฟนแอปพลิเคชันเพื่อการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัวในกลุ่มที่ไม่ได้ใช้สมาร์โฟนแอปพลิเคชันฯ กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะน้ำหนักเกิน จำนวน 60 ราย กำลังศึกษาโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาภาคเหนือ ระยะเวลารวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2566 ถึงเดือนมีนาคม 2566 เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป 2) แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหาร 3) แบบสอบถามพฤติกรรมการทำกิจกรรมทางกาย 4) สมาร์ตโฟนแอปพลิเคชันเพื่อการจัดการตนเองของเด็กและครอบครัว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะน้ำหนักเกินภายหลังการใช้สมาร์ตโฟนแอปพลิเคชันเพื่อการจัดการตนเองของเด็กและครอบครัวสูงกว่าก่อนการใช้สมาร์ตโฟนแอปพลิเคชันฯ และสูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ใช้สมาร์ตโฟนแอปพลิเคชันฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการทำกิจกรรมทางกายของเด็กวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะน้ำหนักเกินภายหลังการใช้สมาร์ตโฟนแอปพลิเคชันเพื่อการจัดการตนเองของเด็กและครอบครัวไม่แตกต่างกับก่อนการใช้สมาร์ตโฟนแอปพลิเคชันฯ และไม่แตกต่างจากกลุ่มที่ไม่ได้ใช้สมาร์ตโฟนแอปพลิเคชันฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p > .05) ผลการวิจัยครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า การใช้สมาร์ตโฟนแอปพลิเคชันเพื่อการจัดการตนเองของเด็กและครอบครัวสามารถช่วยให้เด็กวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะน้ำหนักเกินมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสมมากขึ้น อย่างไรก็ตามจำเป็นต้องมีการศึกษาระยะยาวเพิ่มเติมการใช้สมาร์ตโฟนแอปพลิเคชันฯ เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทำกิจกรรมทางกายของเด็กวัยเรียนตอนปลายที่มีภาวะน้ำหนักเกินต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631231169 บุษยมาศ กันเกตุ.pdf3.1 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.