Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79068
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรษพร อารยะพันธ์ | - |
dc.contributor.advisor | นันทวรรณ ม่วงใหญ่ | - |
dc.contributor.author | วธูสิริ ใจกลาง | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-17T00:37:19Z | - |
dc.date.available | 2023-10-17T00:37:19Z | - |
dc.date.issued | 2019-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79068 | - |
dc.description.abstract | This research aims to 1) study needs and recommendations for learning center and learning network development in Ban Nong Du and Bor Kao communities in Lamphun Province; 2) study opinions of stakeholders towards learning center and learning network development; and 3) develop guidelines for learning center and learning network development for Community-based Tourism (CBT) promotion of Mon Communities in Lamphun Province. Mixed methods were applied with quantitative and qualitative approaches. That is 1) 273 pieces of questionnaire were used for collecting quantitative data from the locals in Ban Ruan Subdistrict, Pa Sang District, and 100% of the questionnaire was sent back completely; and 2) structured interview was applied for collecting qualitative data from three main groups comprising 1) four administrators; 2) two heads of Ban Nong Du and Bor Kao communities; and 3) four local wisdom elites. It was found that most of the informants were female (51.60%) who were 51-60 years old (19.80%), got highschool certificates (33.30%). They were employees (24.90%) living in Ban Nong Du and Bor Kao communities for more than 30 years (33.30%). In terms of the needs of learning center and network, participation in communities was considered the most important ( x̄ = 4.40), followed by Mon community network ( x̄ = 4.38), information resources ( x̄ = 4.37) ) In terms of learning resources of Mon communities, 26.40% of the locals used temples as their learning centers. 20.50% of them looked for interesting issues there, and 24.10% of them looked for information about traditions. In terms of recommendations for managing the learning center and network in Ban Nong Du and Bor Kao communities, five aspects were considered comprising 1) buildings and infrastructure; 2) information resources; 3) service and hospitality; 4) personnel / staff; 5) participation; and 6) other related aspects. For opinions of stakeholders towards learning center and learning network development of Mon Communities in Lamphun Province, it was found from the interview with four administrators that most organizations lacked policies about learning center and budget to support. In terms of management, they agreed that the locals should play important role, along with budget, internal and external project plans, as well as preparation for all types of information resources. Both heads of the communities agreed that identity and uniqueness of Mon communities consist of language, foods, clothes, and traditions. Plans to promote traditions and tourism needed to be prepared as the communities were efficient and ready to be developed as a learning center where local participation and associated organizations could be in charge. In terms of learning center development and learning network policies and guidelines should be prepared with the following aspects: 1) administration, with policies, budget, personnel / staff, buildings and infrastructure; 2) public relations; 3) participation; 4) learning network; and 5) Community-based Tourism (CBT) activities and programs. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนของชาวมอญ ในจังหวัดลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | Learning center and learning network development for community-based tourism (CBT) promotion of Mon communities in Lamphun Province | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -- ป่าซาง (ลำพูน) | - |
thailis.controlvocab.thash | การท่องเที่ยวโดยชุมชน -- ป่าซาง (ลำพูน) | - |
thailis.controlvocab.thash | มอญ -- ป่าซาง (ลำพูน) | - |
thailis.controlvocab.thash | การเรียนรู้ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการและข้อเสนอแนะ ในการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ 2) ศึกษาความคิดเห็นของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ และ 3) พัฒนาแนวทางการพัฒนาเหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนของชาวมอญ จังหวัดลำพูน ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods) ซึ่งมีการเก็บรวบรวมข้อมูล 2 ส่วน คือ 1) ข้อมูลเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือ ประชาชนที่อาศัยในชุมชนชาวมอญ ตำบลบ้านเรือน อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน จำนวน 273 คน ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมา จำนวน 273 ชุดคิดเป็นร้อยละ 100 2) ข้อมูลเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ โดยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง กลุ่มเป้าหมาย คือ 1) ผู้บริหาร จำนวน 4 คน 2) ผู้นำชุมชนบ้านหนองคู่ และบ้านบ่อคาวจำนวน 2 คน และ 3) ปราชญ์ชาวบ้าน จำนวน 4 คน รวมทั้งสิ้น 10 คน ผลการวิจัยมีดังนี้ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 51.60) มีอายุระหว่าง 51 - 60 ปี (ร้อยละ 19.80) สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา (ร้อยละ 33. 30) มีอาชีพรับจ้าง (ร้อยละ 24. 90) และอาศัยอยู่ในชุมชนบ้านหนองคู่-บ่อกาว มากกว่า 30 ปี (ร้อยละ 64.80) ด้านความต้องการแหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ของประชาชนบ้านหนองคู่และบ่อคาว จังหวัดลำพูนที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การมีส่วนร่วมในชุมชน (x̄ = 4.40) รองลงมาคือ เครือข่ายชาวมอญ ( x̄= 4.38) และทรัพยากรสารสนเทศ (x̄ = 4.37) ด้านการใช้แหล่งการเรียนรู้ พบว่า มีการใช้แหล่งการเรียนรู้ประเภทวัดมากที่สุด (ร้อยละ 26.40) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาความรู้ในเรื่องที่สนใจ (ร้อยละ 20.50) และมีการใช้เนื้อหาความรู้ด้านประเพณี (ร้อยละ 24.10) ส่วนข้อเสนอแนะ พบว่า ควรมีการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ในด้านอาคารสถานที่ ทรัพยากรสารสนเทศ บริการและกิจกรรม บุคลากร การมีส่วนร่วม และด้านอื่นๆ ด้านความคิดเห็นของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จากการสัมภาษณ์ผู้บริหาร พบว่า หน่วยงานส่วนใหญ่ยังขาดน โยบายและงบประมาณที่เกี่ยวข้องกับแหล่งเรียนรู้ ด้านการบริหารจัดการ เห็นว่าบุคลากรควรเป็นคนในชุมชน มีการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสม รวมทั้งควรมีการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศทุกรูปแบบ ส่วนผู้นำชุมชนและปราชญ์ชาวบ้านมีความเห็นว่า เอกลักษณ์ของชุมชนมอญคือ ภาษา อาหาร การแต่งกาย และ วัฒนธรรมประเพณี โดยเห็นควรมีการประชาสัมพันธ์ในหลายช่องทาง มีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ของชาวมอญ รวมถึงการนำการท่องเที่ยวโดยชุมชนเข้ามาช่วยส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวมอญให้เกิดความยั่งยืนต่อไป และแนวทางการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ ควรมีการกำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวทางเป็นลายลักษณ์อักษร ประกอบด้วย 1) ด้านการบริหารจัดการ ได้แก่ นโยบาย งบประมาณ บุคลากร อาคารสถานที่ ด้านลักษณะ ทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวก 2) ด้านการประชาสัมพันธ์ 3)ด้านการมีส่วนร่วม 4) เครือข่ายการเรียนรู้ และ 5) รูปแบบการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชน | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590132089-วธูสิริ ใจกลาง.pdf | 6.68 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.