Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79048
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิงห์ สุวรรณกิจ-
dc.contributor.authorภัทรนิษฐ์ เกียรติธนวิชญ์en_US
dc.date.accessioned2023-10-15T04:36:25Z-
dc.date.available2023-10-15T04:36:25Z-
dc.date.issued2019-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79048-
dc.description.abstractThe Siam reformation in the 1880s has turned horror, which traditionally subtle existed in the society, into a non-civilized nature that went opposite the reformation. The horror had later terrified people and turned them to feel disgusted when perceiving or being immediate proximity those with horrified and unpleasant natures. Therefore, the Siamese state and elite had reorganized all people’s inappropriate emotions through the “civilizing process”. In this process, four managers of horror were constituted to control and dispose all horrified nature: “Khun Kalewarak” (the undertaker) who took away the corpses; the hospital that eliminated all sickness and treated patients; the patrol division and the department of sanitation that kept clean and got rid of sewage in public areas; and “the Siamese realm of justice” (Sanarmsathidyuthitham Sayarm) that was responsible for judging cases and reducing the horrified severity of punishment. Apart from controlling of horror in surreptitious areas, or getting rid of horror from public sphere, the civilizing process also helps eliminate the negative emotion of society as well.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleรัฐและสังคมสยามกับการจัดการความรู้สึก: ระบอบความสยดสยอง, พ.ศ. 2394-2453en_US
dc.title.alternativeSiamese state and society and the management of emotion: regime of horror, 1851-1910en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashรัฐ-
thailis.controlvocab.thashสังคม-
thailis.controlvocab.thashการรับรู้ทางสังคม-
thailis.controlvocab.thashชนชั้นทางสังคม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการปฏิรูปสยามในช่วงทศวรรษ 2430 ส่งผลให้ความสยดสยองที่แต่เดิมดำรงอยู่อย่างแยบยล ในสังคม กลายเป็นสิ่งที่มีลักษณะของความไม่ศิวิไลซ์ และไม่ได้ดำเนินไปในทิศทางเดียวกันกับการ ปฏิรูปประเทศ และทำให้ราษฎรสยามเกิดความรู้สึกหวาดกลัว รังเกียจ มองว่าเป็นสิ่งอุจาค ไม่งาม และสะอิดสะเอียนต่อการพบเห็นหรือสัมผัสกับสิ่งที่ไม่พึงประสงค์เหล่านั้น ด้วยเหตุนี้ รัฐและชนชั้น นำสยามจึงจัดการความรู้สึกดังกล่าวผ่านการสร้างกระบวนการทำให้ศิวิไลซ์ โดยมีผู้จัดการความ สยดสยองอันเป็นสถาบันที่ก่อตัวขึ้นมาพร้อมกับความเป็นรัฐสมัยใหม่ ได้แก่ ขุนกะเฬวรากที่คอย กำจัดซากศพคนตายในป่าช้า โรงพยาบาลที่คอยกำจัดโรคภัย ไข้เจ็บและรักษาผู้ป่วย กองตระเวนกับ กรมสุขาภิบาลที่คอยรักษาความสะอาดและกำจัดของโสโครกในพื้นที่สาธารณะ และสนามสถิต ยุติธรรมสยาม ที่ทำหน้าที่พิพากษาคดีและลดความรุนแรงของการลงทัณฑ์ กล่าวได้ว่า นอกจากกระ บวนการทำให้ศิวิไลซ์จะควบคุมความสยดสยองมาไว้ในพื้นที่ลับเฉพาะหรือกำจัดความสขดสยองให้ พันออกไปจากสังคมแล้ว กระบวนการดังกล่าวยังกำจัดความรู้สึกอันมีลักษณะเป็นด้านลบของสังคม ให้หมดไปอีกด้วยen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.