Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79043
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสืบศักดิ์ แสนยาเกียรติคุณ-
dc.contributor.authorสิริจรรยา ตาอินทร์en_US
dc.date.accessioned2023-10-15T04:17:41Z-
dc.date.available2023-10-15T04:17:41Z-
dc.date.issued2566-06-16-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79043-
dc.description.abstractThe Study for the Wat Nam Jam Museum Rong Wao Dang Area, San Kamphaeng District, Chiang Mai Province has objectives to study the context of the Wat Nam Jam Museum and the Nam Jam village community, to study the problem condition of museum management and to suggest the administrative method for the efficiency-enhancing of the Wat Nam Jam Museum to be learning center of the Nam jam village and others. Qualitative research has been used as a methodology of this study through documentative research, physical survey, investigation, structural and non-structural interview, and group discussion with the person responsible for the museum. Use a descriptive and analytical presentation method. Assemble photographs, diagrams, and line drawings. Contains contents on the history of the establishment of the Wat Nam Jum Museum. Ban Nam Jum Community exhibition management and the Problems of the Wat Nam Jam Museum. Analyzing data, discussing results, and proposing ways to increase management efficiency. Exhibitions and activities with the expectation that they will be successful as a source of community learning. And can be further developed in the future The study found that Wat Nam Jum Museum has been operating for 11 years. The main management is Chao Phrakhru Pisan Chetiyarak Abbot of Wat Nam Jum. Wat Nam Jam Museum collects ancient artifacts Folk art and fine arts. From the study area, the important problem is the problem of opening and closing museums that do not have a fixed time. Museum management problems and problems in displaying in the museum. The best arrangement to increase efficiency is to involve the community in the maintenance of the museum. The presentation of management methods for increasing the efficiency of the Wat Nam Jum Museum is presented in 2 parts: Part 1 presents a guideline for improving the Wat Nam Jum Museum display management. In matters of building and location Determining the exhibit's theme and the exhibition's theme by the objects in the museum and social history community culture. Exhibition poster design along with proposing management guidelines to increase the efficiency of the exhibition. Part 2 proposes a guideline for the management of the Wat Nam Jum Museum by proposing the community take part in its management. Proposed to have a total of 5 administrative units, including the museum consultant. Head of the Museum, Coordination Department, Operations Department, and consultants in operations by proposing a division in management, including opening-closing the museum, earning money for the museum registration of objects museum maintenance and public relations for Wat Nam Jum Museum as well as offering suggestions for motivating to achieve the goal of the management to increase the efficiency of the Wat Nam Jam Memorial Museum.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพิพิธภัณฑ์วัดน้ำจำen_US
dc.titleการจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพพิพิธภัณฑ์วัดน้ำจำ ตำบลร้องวัวแดง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeManagement to increase the efficiency of Wat Nam Jam Museum, Rong Wao Dang area, San Kamphaeng District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashพิพิธภัณฑ์วัดน้ำจำ -- การบริหาร-
thailis.controlvocab.thashวัดน้ำจำ -- พิพิธภัณฑ์-
thailis.controlvocab.thashพิพิธภัณฑ์ -- สันกำแพง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashพิพิธภัณฑ์ -- การบริหาร-
thailis.controlvocab.thashพิพิธภัณฑ์ -- การจัดการทรัพยากร-
thailis.controlvocab.thashพิพิธภัณฑ์ -- การจัดแสดง-
thailis.controlvocab.thashวัด -- สันกำแพง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashสันกำแพง (เชียงใหม่) -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว-
thailis.controlvocab.thashสันกำแพง (เชียงใหม่) -- ความเป็นอยู่และประเพณี-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่องการจัดการพิพิธภัณฑ์วัดน้ำจำ ตำบลร้องวัวแดง อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทเกี่ยวกับพิพิธภัณฑ์วัดน้ำจำ และชุมชนบ้านน้ำจำ รวมถึงศึกษาสภาพปัญหาของการจัดการพิพิธภัณฑ์วัดน้ำจำ เพื่อนำเสนอแนวทางการจัดแสดง และวิธีการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพพิพิธภัณฑ์วัดน้ำจำให้ประสบผลสำเร็จเป็นแหล่งให้ความรู้ของชุมชน และบุคคลที่สนใจต่อไป การศึกษาครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการค้นคว้าข้อมูลภาคเอกสาร การสำรวจทางกายภาพ การสังเกตการณ์ การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง และการสนทนาแบบกลุ่ม จากผู้ที่มีหน้าที่ในการดูแลพิพิธภัณฑ์วัดน้ำจำ และจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ใช้วิธีการนำเสนอในรูปแบบพรรณนาวิเคราะห์ ประกอบภาพถ่าย แผนผัง และภาพลายเส้น ประกอบด้วยเนื้อหาด้านประวัติการก่อตั้งของพิพิธภัณฑ์วัดน้ำจำ ชุมชนบ้านน้ำจำ การจัดการแสดงนิทรรศการ การบริหารจัดการ และสภาพปัญหาของพิพิธภัณฑ์วัดน้ำจำ ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูล อภิปรายผล และเสนอแนวทางเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ การจัดสดงนิทรรศการ และกิจกรรม โดยคาดหวังให้ประสบผลสำเร็จเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน และสามารถพัฒนาต่อยอดต่อไปได้ในอนาคต ผลการศึกษาพบว่า พิพิธภัณฑ์วัดน้ำจำ เปิดดำเนินการมาร่วม 11 ปี ผู้บริหารจัดการหลักคือ เจ้าพระครูพิศาลเจติยารักษ์ เจ้าอาวาสวัดน้ำจำ เป็นพิพิธภัณฑ์ที่เก็บรวบรวมวัตถุโบราณ งานศิลปพื้นบ้านและงานศิลปกรรม จากการลงพื้นที่ศึกษาปัญหาที่สำคัญคือ ปัญหาการเปิด-ปิดพิพิธภัณฑ์ที่ไม่มีเวลาที่กำหนดแน่นอน ปัญหาด้านการจัดการดูแลพิพิธภัณฑ์ และปัญหาด้านการจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ การจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพที่ดีที่สุดคือการให้ภาคชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลพิพิธภัณฑ์ การนำเสนอวิธีการจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพพิพิธภัณฑ์วัดน้ำจำ มีการนำเสนอ 2 ภาคส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 เสนอแนวทางการปรับปรุงการจัดการแสดงพิพิธภัณฑ์วัดน้ำจำ ในเรื่องของการจัดอาคารและสถานที่ การกำหนดหัวข้อการจัดแสดงและหัวข้อนิทรรศการให้สอดคล้องกับวัตถุในพิพิธภัณฑ์ และประวัติศาสตร์สังคม วัฒนธรรมของชุมชน การออกแบบโปสเตอร์นิทรรศการ พร้อมทั้งเสนอแนวทางในการจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดแสดง ส่วนที่ 2 เสนอแนวทางการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์วัดน้ำจำโดยเสนอให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ เสนอให้มีหน่วยบริหารงานทั้งหมด 5 ฝ่าย ได้แก่ ที่ปรึกษาพิพิธภัณฑ์ หัวหน้าพิพิธภัณฑ์ ฝ่ายประสานาน ฝ่ายดำเนินงาน และผู้ให้คำปรึกษาในการดำเนินงาน โดยเสนอส่วนงานในด้านการบริหารจัดการ ได้แก่ การเปิด-ปิด พิพิธภัณฑ์ การหารายได้เข้าสู่พิพิธภัณฑ์ การทำทะเบียนวัตถุ การบำรุงรักษาพิพิธภัณฑ์ และการประชาสัมพันธ์พิพิธภัณฑ์วัดน้ำจำ พร้อมทั้งเสนอข้อเสนอแนะในการสร้างแรงจูงใจ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพพิพิธภัณฑ์วัดน้ำจำen_US
Appears in Collections:MASSCOMM: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610332019-สิริจรรยา ตาอินทร์.pdf4.18 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.