Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79042
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาซายูกิ นิชิดะ-
dc.contributor.authorพันธุ์พิชญา ปัญญาฟูen_US
dc.date.accessioned2023-10-15T04:15:20Z-
dc.date.available2023-10-15T04:15:20Z-
dc.date.issued2018-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79042-
dc.description.abstractThe objective of this research is to analyze the elusive image of motherhood in Japanese novel Kinokawa, written by one of the most prolific Japanese female writers, Sawako Ariyoshi. This research examines (a) how female characters in a fictional Japanese family represent motherhood in the three historical periods of Meiji, Taisho and Showa, and (b) how motherhood is inherited by the next generation in a negotiated fashion, and (c) how social factors contribute to changes in motherhood. This study explains the way Japanese motherhood has transformed across historical periods. This study draws on literary criticism of Ariyoshi’s works, along with the autobiography of the Ariyoshis, and documents on the education system for Japanese women, and the structure of the Japanese family system during the three historical periods. The analysis reveals that all three characters of Hana, Fumio and Hanako, who respectively represent Japanese women of the Meiji, Taisho and Showa, learn to be a mother from their mother and also the formal education that they receive at an all-girls school. However, the characteristics of the mother figures in the novel vary due to the influence of formal education in a given period. It is true that Japanese girls grow up in the looming shadow of the ie system, which used to subjugate women, but the family system gradually faded away and eventually dissolved. The motherhood is no longer essentialized as the women’s intransient quality that serves the preservation of the ie; it instead represents the unconditional love of women that is not bounded by any rules. The women are freed from the longstanding pressures of being “good wives and intelligent mothers”. The results suggest that women’s social roles cannot be separated from the cultural and social contexts of a given historical period. However, just as Ariyoshi tried in Kinokawa through the allegory of the flowing river, the women are portrayed as active agents, who do not cease to negotiate their own destinies despite the constraints of social and cultural pressures.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการสืบทอดและการเปลี่ยนแปลงรูปแบบความเป็นแม่ในวรรณกรรมเรื่อง คิโนะกะวะ ของอะริโยะฌิ ซะวะโกะen_US
dc.title.alternativeInheritance and Transformation of Motherhood in Ariyoshi Sawako’s Kinokawaen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashญี่ปุ่น -- ประวัติศาสตร์-
thailis.controlvocab.thashญี่ปุ่น -- ภาวะสังคม-
thailis.controlvocab.thashการเปลี่ยนแปลงทางสังคม-
thailis.controlvocab.thashสตรี -- ญี่ปุ่น-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสืบทอดและการเปลี่ยนแปลงรูปแบบความเป็นแม่ที่ ถูกสร้างขึ้นในวรรณกรรมเรื่อง คิโนะกะวะ ของอะริ โยะฌิ ซะวะโกะหนึ่งในนักเขียนหญิงที่มีชื่อเสียง ของญี่ปุ่นว่า ความเป็นแม่ของตัวละครหญิงในยุคเมจิ ไทโช โชวะ มีการสืบทอดและเปลี่ยนแปลงไป เช่นไร ปัจจัยทางสังคมใดที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนั้น โดยการสำรวจจากเอกสาร ซึ่งได้รวบรวม และศึกษาจากหลักฐานต่างๆ ได้แก่ งานวิจัย บทความวิชาการ เอกสารที่เกี่ยวข้องกับวรรณกรรมเรื่อง คิโนะกะวะ รวมถึงชีวประวัติของอะริ โยะฌิ ซะวะ โกะและครอบครัว ระบบการศึกษาของผู้หญิงญี่ปุ่น และ ระบบครอบครัวในสังคมญี่ปุ่นทั้งสามยุคดังกล่าว จากการศึกษาพบว่า ตัวละครหญิงทั้งสาม คือ ฮะนะ ฟุมิโอะ และฮะนะโกะซึ่งเป็นตัวแทน ของผู้หญิงในยุคเมจิ ไทโช และ โชวะนั้น มีการสืบทอดความเป็นแม่จากการศึกษา โดยการเรียนรู้ ความเป็นแม่จากที่บ้านผ่านความสัมพันธ์ระหว่างแม่กับลูกสาว และการศึกษาภายในโรงเรียนสตรี ซึ่ง ลักษณะความเป็นแม่ของตัวละคร ได้เปลี่ยนแปลงไปตามเนื้อหาการศึกษาสำหรับผู้หญิงแต่ละยุค และ ในขณะที่การศึกษาสำหรับผู้หญิงใด้รับการพัฒนามากขึ้นเรื่อยๆ เงามืดของระบบอิเอะที่คอยควบคุม สถานภาพของสู้หญิงให้อยู่ภายใต้อาณัติของระบบครอบครัวญี่ปุ่นแบบดั้งเดิมก็ค่อยๆเสื่อมสลายไป ความเป็นแม่จึงเปลี่ยนจากความรักที่ยึดมั่นเพื่อดำรงความเป็นอิเอะ เป็นความรักแบบเสรีที่ไม่ขึ้นอยู่ กับกฎเกณฑ์ใดๆ เพราะไม่ต้องแบกรับความคาดหวังของสังคมในการทำหน้าที่ของภรรยาที่ดีแม่ที่ ฉลาด ทำให้เห็นถึงภาพความเป็นแม่ว่า สถานภาพของผู้หญิงไม่ว่าในยุคใดก็ยังคงถูกเชื่อมโยงกับ บริบททางวัฒนธรรมและสังคม แต่ท่ามกลางกระแสสังคมที่พัดผ่านไปดังเช่นสายน้ำ ผู้หญิงได้ พยายามที่จะสร้างตัวตนและกำหนดจุดยืนสำหรับตนเองen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580132031-พันธุ์พิชญา ปัญญาฟู.pdf2.64 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.