Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79039
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิสิต พันธมิตร-
dc.contributor.advisorชูเกียรติ ชัยบุญศรี-
dc.contributor.authorณัฎฐ์นันธ์ นิกรพันธุ์en_US
dc.date.accessioned2023-10-15T04:08:40Z-
dc.date.available2023-10-15T04:08:40Z-
dc.date.issued2566-06-17-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79039-
dc.description.abstractThe objectives of this independent study include: 1) to study the business environment of the cooperative store situated in the university; 2) to study the factor influencing the operational efficiency of the cooperative store situated in the university; and 3) to evaluate and compare the technical operational efficiency of the cooperative stores situated in the university. This quantitative research used the Data Envelopment Analysis (DEA) technique, in the form of computer program DEAP 2.1, as the analysis tool whereas the studied samples included the cooperative stores situated in Chulalongkorn University, Chiang Mai University, and Kasetsart University. Business environmental data of the studied cooperative stores were collected via the interviews with the cooperative’s personnel playing the role of policymakers which were the committee members and the managers, as well as obtaining the data from the cooperatives’ annual financial statements for six years, during 2015 – 2020. As the results, it was found that, for all 6 studied years, there was only one cooperative store which had an efficiency value equal to 1, under the model of Constant Return to Scale (CRS), reflecting 33.33% while the overall average value was 0.970. On the other hand, for all six studied years, there were two cooperative stores that had an efficiency value equal to 1, under the model of Variable Return to Scale (VRS), reflecting 66.67% while the overall average value was 0.998. The operational efficiencies from both models of CRS and VRS were very close indicating that all studied cooperative stores were efficient in their resource allocation with a score of at least 99.80%.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการวิเคราะห์ประสิทธิภาพen_US
dc.subjectสหกรณ์ร้านค้าen_US
dc.subjectสหกรณ์ร้านค้าในมหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการวิเคราะห์ประสิทธิภาพทางเทคนิคของสหกรณ์ร้านค้า: กรณีศึกษา สหกรณ์ร้านค้าในมหาวิทยาลัยen_US
dc.title.alternativeThe Technical efficiency analysis of cooperative store: case study cooperative store in universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสหกรณ์ร้านค้า -- การบริหาร-
thailis.controlvocab.thashสหกรณ์ผู้บริโภค -- การบริหาร-
thailis.controlvocab.thashสถาบันอุดมศึกษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระฉบับนี้วัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมธุรกิจของสหกรณ์ร้านค้าในมหาวิทยาลัย 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการมีประสิทธิภาพการดำเนินงานของสหกรณ์ร้านค้าในมหาวิทยาลัย 3) เพื่อประเมินประสิทธิภาพเชิงเทคนิคในการดำเนินงานระหว่างสหกรณ์ร้านค้าในมหาวิทยาลัย การวิจัยเชิงปริมาณใช้เทคนิคการวิเคราะห์การโอบล้อมข้อมูล (Data Envelopment Analysis: DEA) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป DEAP 2.1 ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ร้านสหกรณ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำกัด ร้านสหกรณ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำกัด และร้านสหกรณ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จำกัด ใช้วิธีการสัมภาษณ์เพื่อรวบรวมข้อมูลสภาพแวดล้อมของธุรกิจสหกรณ์จากกรรมการ ผู้จัดการ ของสหกรณ์ผู้มีบทบาทในการออกนโยบาย และข้อมูลจากงบการเงินประจำปีของสหกรณ์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 ถึง 2563 รวมระยะเวลา 6 ปี ผลการศึกษาพบว่าตลอดระยะเวลา 6 ปี มีสหกรณ์ที่มีค่าประสิทธิภาพภายใต้แบบจำลองที่มีลักษณะผลตอบแทนต่อขนาดคงที่ (Constant Return to Scale: CRS) เท่ากับ 1 จำนวน 1 สหกรณ์ คิดเป็นร้อยละ 33.33 โดยในภาพรวมค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 0.970 และในส่วนค่าประสิทธิภาพภายใต้แบบจำลองที่มีลักษณะผลตอบแทนต่อขนาดผันแปร (Variable Return to Scale: VRS) พบว่าตลอดระยะเวลา 6 ปี มีสหกรณ์ที่มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 1 จำนวน 2 สหกรณ์ คิดเป็นร้อยละ 66.67 ในภาพรวมมีค่าประสิทธิภาพโดยเฉลี่ย 0.998 โดยในภาพรวมทั้งแบบจำลองที่มีลักษณะผลตอบแทนต่อขนาดคงที่ และผลตอบแทนต่อขนาดผันแปร มีประสิทธิภาพการดำเนินงานใกล้เคียงกัน แสดงว่าสหกรณ์ทั้งสามแห่งมีการจัดสรรการใช้ทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 99.80en_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611632021-ณัฎฐ์นันธ์ นิกรพันธุ์.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.