Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79009
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อลงกรณ์ คูตระกูล | - |
dc.contributor.author | วิลาวัลย์ ฝั้นคำปวง | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-11T10:35:11Z | - |
dc.date.available | 2023-10-11T10:35:11Z | - |
dc.date.issued | 2566-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79009 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were: 1) to study problems and obstacles, 2) the added value, and 3) to propose guidelines for the operation’s developing of the department’s centralized administrative system of Faculty of Dentistry, Chiang Mai University, in the perspective of clients, executives and service providers. The population of this research was executives, professors, faculty office personnels who were the clients of the department’s centralized administrative, and service providers of the department’s centralized administrative, total 18 people. This research was the qualitative research. The results of the study from 3 perspectives were found that: 1) the problems and obstacles were found that the information system problems had the problems from both system and users, the working system problems were found that (1) the clients were used to the previous work style and unready to adapt to the new work style (2) not understanding the nature of professors and working culture of each department and major (3) the clear working methods of the department’s centralized administrative and the personnel problems were found that the lacking manpower and the increased workload, 2) the added value was found that they gained more benefit than expected, the cost reduction of money (budget) was found that it was higher than expected, the cost reduction of time was found that the overall had a similar opinion that it was no difference, and 3) the guidelines for the operation’s developing in the perspective of clients, executives and service providers were found that the information system should be improved to be easy to use and stability, had a notification system, the documents should be full digital, publicized the use of Line OA, the working system should be specific the responsible person’s name and to reduce the process that using the paper resources to be more work on the information system, the personnel should improve about rules, regulations, etc. to be accurate, they can be responsible for each other’s work, a division of work according to the service providers’ expertise, and they should have the training for service providers. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ธุรการภาควิชาแบบรวมศูนย์ | en_US |
dc.subject | ปัญหา | en_US |
dc.subject | คุณค่าที่เพิ่มขึ้น | en_US |
dc.title | ปัญหา อุปสรรค และคุณค่าที่เพิ่มขึ้นของการจัดรูปแบบธุรการแบบรวมศูนย์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Problems, obstacles and added value of forming centralized administration, Faculty of Dentistry, Chiang Mai University | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะทันตแพทยศาสตร์ -- การบริหาร | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารองค์การ | - |
thailis.controlvocab.thash | การจัดการสำนักงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | งานสำนักงาน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรค คุณค่าที่เพิ่มขึ้น และเสนอแนวทางในการพัฒนาการดำเนินงานระบบศูนย์ธุรการภาควิชาแบบรวมศูนย์ของคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในมุมมองของผู้รับบริการ ผู้บริหาร และผู้ให้บริการ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือผู้บริหาร อาจารย์ และ บุคลากรสังกัดสำนักงานคณะที่ใช้บริการธุรการภาควิชาแบบรวมศูนย์ และผู้ให้บริการธุรการภาควิชาแบบรวมศูนย์ จำนวน 18 คน การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการศึกษาจากมุมมองทั้ง 3 มุมมองได้แก่ 1) ปัญหาและอุปสรรคพบว่า ปัญหาด้านระบบสารสนเทศ พบปัญหาด้านของระบบ (system) และด้านผู้ใช้ (use) ปัญหาด้านระบบการทำงาน พบว่า (1) ผู้รับบริการคุ้นชินกับการทำงานรูปแบบเดิม ไม่พร้อมกับการปรับตัวการทำงานรูปแบบใหม่ (2) การ ไม่เข้าใจต่อธรรมชาติของอาจารย์วัฒนธรรมการทำงานของแต่ละภาควิชา สาขาวิชา (3) วิธีการทำงานที่แน่ชัดของธุรการภาควิชาแบบรวมศูนย์ และปัญหาด้านบุคลากรพบว่า กำลังคนไม่พอปริมาณงานมีมากขึ้น 2) คุณค่าที่เพิ่มขึ้นพบว่า ได้รับประโยชน์มากขึ้นกว่าที่คาดหวังไว้ การลดต้นทุนลงด้านเงินตรา (งบประมาณ) พบว่าสูงกว่าที่คาดหวังไว้ การลดต้นทุนลงด้านเวลาพบว่า โดยรวมมีความคิดเห็นใกล้เคียง กันว่าไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางในการพัฒนาการดำเนินงานฯ ในมุมมองของผู้รับบริการ ผู้บริหารและผู้ให้บริการ พบว่า ควรมีการปรับปรุงระบบสารสนเทศให้มีการใช้ง่าย ด้านความเสถียร มีระบบแจ้งเตือน และเอกสารควรเป็น Full digital และมีการประชาสัมพันธ์การใช้ Line OA ด้านระบบการทำงานควรมีการระบุชื่อผู้รับผิดชอบในงาน และควรลดขั้นตอนที่ต้องใช้ทรัพยากรกระดาษ เป็นการทำงานบนระบบสารสนเทศให้มากขึ้น ด้านบุคลากรควรปรับปรุงเรื่องกฎ ระเบียบ ฯลฯ ให้มีความแม่นยำ สามารถรับผิดชอบแทนงานกันได้ มีการแบ่งงานตามความถนัดของผู้ให้บริการ และควรมีการจัดฝึกอบรมให้ แก่ผู้ให้บริการ | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
IS-วิลาวัลย์ ฝั้นคำปวง 641932014.pdf | 1.96 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.