Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78992
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธเนศวร์ เจริญเมือง | - |
dc.contributor.author | สรัญธรณ์ บุตรชัย | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-09T16:43:57Z | - |
dc.date.available | 2023-10-09T16:43:57Z | - |
dc.date.issued | 2566-03-29 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78992 | - |
dc.description.abstract | This research aims to study Integration of Work on Preventing and Controlling the Spread of the 2019 Coronavirus Disease of the Emergency Operation Center (EOC) and the Incident Command System (ICS), Sam Ngam District, Phichit Province of two clusters (Village No.4 of Nong Sano Subdistrict and Village No.13 of Sam Ngam Subdistrict). The goal is to know the two clusters’ processes of integration, their similarities, and differences, problems and challenges, as well as to recommend ways to improve the integration process of EOC. The study uses qualitative research methods including documentary research, participant observation, and unstructured in-depth interview with 10 informants. The study finds that the operations of the EOC and ICS for preventing and controlling the spread of COVID-19 in the two clusters have similar steps and procedures, focusing on the integration, coordination, and exchange of data and information among internal work units. However, both clusters vary in terms of spatial context and patterns of disease outbreak, which cause the outbreak response measures of the EOC and ICS to vary as well—e.g., temporary closure of the village. Moreover, the disease outbreak preventive measures in the two clusters are somewhat similar. The research also finds the problems and challenges in the operation of the EOC and ICS, including the people’s fear and panic and lack of knowledge/understanding of the epidemics; the overlapping internal structure of the EOC and ICS, and the shortage of the personnel for effective management. Following the research findings,the study proposes 3 recommendations for improving the operational integration of the EOC and ICS:(1) development of staff’s knowledge, (2) adjustment of the EOC and ICS’s internal structure, and (3) promoting and building accurate understanding among the local people. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ไวรัสโคโรนา 2019 | en_US |
dc.subject | คณะกรรมการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน | en_US |
dc.subject | ระบบบัญชาการเหตุการณ์ | en_US |
dc.title | การบูรณาการงานป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของคณะกรรมการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน และระบบบัญชาการเหตุการณ์ อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร | en_US |
dc.title.alternative | Integration of work on preventing and controlling the spread of the 2019 coronavirus disease of the Emergency Operation Center and the Incident Command System, Sam Ngam District, Phichit Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | โควิด-19 (โรค) -- การป้องกันและควบคุม | - |
thailis.controlvocab.thash | การระบาดใหญ่ของโควิด-19, ค.ศ. 2020- | - |
thailis.controlvocab.thash | การจัดการภาวะฉุกเฉิน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยนี้มุ่งหมายศึกษาการบูรณาการงานป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 ของคณะกรรมการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและระบบบัญชาการเหตุการณ์ อา เภอสามง่าม จัง ห วัด พิจิต ร ข อ ง ค ลัส เ ต อ ร์ ห มู่ที่ 4 ต า บ ล ห น อ ง โ ส น แ ล ะ ค ลัส เ ต อ ร์ หมู่ที่ 13 ตาบลสามง่าม เพื่อทราบถึงกระบวนการบูรณาการ ความเหมือนและความต่าง ปัญหา อุปสรรค ตลอดจนเสนอแนะการพัฒนากระบวนการบูรณาการการปฏิบัติงานของคณะกรรมการฯ โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการค้นคว้าเอกสาร การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและสัมภาษณ์เชิงลึก แบบไม่มีโครงสร้างจากผู้เกี่ยวข้อง จานวน 10 ราย ผลการศึกษาวิจัยพบว่า การปฏิบัติงานภายใต้ คณะกรรมการฯ ในการป้องกันและควบคุมการแพร่ ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของทั้งสองคลัสเตอร์มีขั้นตอนกระบวนการที่คล้ายคลึงกันโดยเน้นการบูรณาการประสานงาน แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารร่วมกันระหว่างหน่วยงานภายในแต่ทั้งสองคลัสเตอร์มีบริบทพื้นที่ และลักษณะการแพร่ระบาดที่แตกต่างกัน จึงส่งผลให้มาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของ คณะกรรมการฯ ต่างกันกันไปด้วย เช่น มาตรการปิ ดหมู่บ้านชั่วคราว เป็นต้น ส่วนมาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดค่อนข้างมีลักษณะคล้ายกัน อีกทั้งยังพบปัญหาและอุปสรรค ในการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการฯ คือความหวาดกลัวตื่นตระหนกและขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคระบาดของ ประชาชน โครงสร้างภายในของคณะกรรมการฯ ที่มีความทับซ้อนกัน และขาดแคลนบุคลากร ในการบริหารจัดการ จากผลการศึกษาจึงมีข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาการบูรณาการของคณะกรรมการคือ 1) พัฒนาองค์ความรู้ของผู้ปฏิบัติงาน2) ปรับปรุงโครงสร้างภายในของคณะกรรมการฯ 3) ประชาสัมพันธ์และสร้างการรับรู้ที่ถูกต้องให้แก่ประชาชน | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631932075-SARUNDHORN BUTCHAI.pdf | 1.27 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.