Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78971
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมหวัง แก้วสุฟอง-
dc.contributor.authorอัตถนันท์ ขันทะวงศ์en_US
dc.date.accessioned2023-10-09T11:15:40Z-
dc.date.available2023-10-09T11:15:40Z-
dc.date.issued2023-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78971-
dc.description.abstractThis dissertation investigates into Buddhist perspective against the retribution and analyses the background of the perspective by study from the information in Tripitaka, Commentary, and related research. The result of this research find that general perspective of Buddhist philosophy disagree with the retribution. The disagreement mostly base on the idea of Duhkha. The retribution also strongly contradict with the principle of extinguish one's Duhkha and Anatta (, which ground on the ultimate truth of the idea that “the action exists but the actor does not.” The Vinaya show the evidences that there are Buddhist ordinanceswhich indicate the punishment to the monk who commit an offense. However the aim of the punishment is not for retribution, but to give the lesson and polish one own habit. Buddhism has an approach that human has a potential to improve oneself under the righteous preacher. The research finds that the law of Kamar has some kind of resemblance to retribution. The law functions as a system that wreak and award to each particular action under the condition of intention. Finally, this dissertation proposes that the individual or society must react to or punish perpetrators under the purpose to give a lesson and polish oneself into the righteous way, and under the mercy and humanity principle, not the satisfaction. This kind of reaction or punishment are counted as not contradictory to the Buddhist ethical principle.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการแก้แค้นในมุมมองพุทธปรัชญาen_US
dc.title.alternativeRetribution in buddhist philosophical perspectiveen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashพุทธปรัชญา-
thailis.controlvocab.thashความจริง -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา-
thailis.controlvocab.thashการลงโทษ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษามุมมองทางพุทธปรัชญาที่มีต่อการแก้แค้นรวมถึงวิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้มีมุมมองเช่นนั้น โดยศึกษาจากข้อมูลที่ปรากฏในคัมภีร์พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา ตลอดจนตำราหรืองานเขียนที่เกี่ยวกับพุทธปรัชญา โดยถ่ายทอดผลการศึกษาออกมาในเชิงพรรณนา จากการศึกษาข้อมูลพบว่า มุมมองโดยภาพรวมของพุทธปรัชญานั้น ไม่เห็นด้วยกับการแก้แค้น โดยส่วนที่พุทธปรัชญาไม่เห็นด้วยกับการแก้แค้นนั้นมาจากหลักคำสอนเรื่อง “ทุกข์” จากการศึกษาในเรื่องพบว่าการแก้แค้นนั้นขัดต่อหลักคำสอนเรื่องการดับทุกข์และหลักคำสอนเรื่องอนัตตา ซึ่งเป็นหลักคำสอนที่วางบนฐานของปรมัตถสัจจะที่ว่าด้วยการกระทำมีอยู่ แต่ผู้กระทำนั้นหามีไม่ ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นเพียงอุปาทานจากความยึดมั่นถือมั่น ทั้งนี้การศึกษาในเรื่องพระวินัย แม้ปรากฏหลักฐานว่าพุทธปรัชญามีบัญญัติเพื่อลงโทษแก่สงฆ์ที่กระทำความผิด แต่การลงโทษในพระวินัยก็ไม่ได้มีจุดประสงค์ในเชิงแก้แค้น แต่เป็นเพียงการลงโทษเพื่อให้ผู้กระทำผิดได้รับบทเรียนและขัดเกลาตนและมองว่ามนุษย์มีศักยภาพเพียงพอที่จะเรียนรู้และฝึกตนได้หากได้รับการสั่งสอนอย่างถูกวิธี อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาในเรื่องกฎแห่งกรรมพบว่า เป็นระบบสนองการกระทำที่คล้ายคลึงกับการแก้แค้น โดยระบบดังกล่าวจะทำหน้าที่ให้ผลของการกระทำทั้งแง่การให้รางวัลและการลงโทษ ซึ่งเชื่อว่าหากทำกรรมใดไม่ว่ากรรมนั้นจะเล็กน้อย หากกระทำด้วยความจงใจ ผู้กระทำจะต้องรับผลของการกระทำนั้นอย่างแน่นอน โดยวิทยานิพนธ์นี้ได้เสนอแนวทางว่า หากปัจเจกบุคคลหรือสังคมจำเป็นต้องตอบโต้หรือลงโทษผู้กระทำผิด จะต้องคำนึงว่าผู้ถูกลงโทษจะได้รับบทเรียนจากกระทำของตน ทั้งนี้ต้องกระทำต่อเขาในฐานะเพื่อนมนุษย์ด้วยความเมตตาและปรารถนาดี ไม่ใช่เป็นไปเพื่อความสะใจหรือแก้แค้น ซึ่งจะเป็นการกระทำที่ไม่ถือว่าขัดต่อหลักจริยธรรมในพุทธปรัชญาen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610131018 อัตถนันท์ ขันทะวงศ์.pdf3.5 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.