Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78930
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPimduen Rungsiyakull-
dc.contributor.advisorChaiy Rungsiyakull-
dc.contributor.authorSuphakrit Pumnilen_US
dc.date.accessioned2023-10-05T10:55:08Z-
dc.date.available2023-10-05T10:55:08Z-
dc.date.issued2021-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78930-
dc.description.abstractObjective: This study aims to investigate stress distribution with three-dimensional finite element analysis between different customized abutment types as follows: titanium abutment, titanium hybrid-abutment-crown, zirconia abutment with titanium base, and zirconia hybrid-abutment-crown with titanium base. Materials and methods: Eight models of implant-supported single crown with four different abutment types were simulated by SolidWorks 2020. 200N vertical and 100N oblique loads were applied. The average volume, maximum, and stress distribution of von Mises stress including percentage difference were analyzed by finite element analysis. Results: In general, the parameters presented result's meaning in the same way. The titanium abutment and zirconia abutment with titanium base generated the parameters' highest values at implant and screw respectively. The zirconia abutment with titanium base, compared with titanium abutment, generated the highest volume average von Mises stress at titanium base (19.16 MPa) and screw (15.62 MPa). The titanium hybrid- abutment-crown, compared with titanium abutment, generated the highest volume average von Mises stress at hybrid-abutment-crown (14.06 MPa) and screw (12.42 MPa). The zirconia abutment with titanium base, compared with zirconia hybrid-abutment- crown with titanium base, generated the highest volume average von Mises stress at titanium base (19.16 MPa) and screw (15.62 MPa). Conclusion: Within the limitations of this study, the oblique loading generally generated higher average volume von Mises stress than vertical loading in each component of all abutment types. The titanium base absorbed stress itself and improved stress distribution of implant in zirconia abutment with titanium base. The combination of hybrid-abutment- crown deteriorated stress distribution of screw in titanium hybrid-abutment-crown and implant in zirconia hybrid-abutment-crown with titanium base.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleEffect of different customized abutment types on stress distribution in implant-supported single crown: a 3D finite element analysisen_US
dc.title.alternativeผลของชนิดหลักยึดรากเทียมเฉพาะบุคคลต่อรูปแบบการกระจายความเค้นบนรากเทียมเดี่ยว: การศึกษาด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์สามมิติen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshDental implants-
thailis.controlvocab.lcshImplants, Artificial-
thailis.controlvocab.lcshDental materials-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษารูปแบบการกระจายความเค้นด้วยระเบียบวิธี ไฟไนต์เอลิเมนต์สามมิติ บนราก เทียม สกรูหลักยึดรากเทียม หลักยึดรากเทียม และครอบฟันบนรากเทียมเคี่ยว เปรียบเทียบระหว่าง หลักยึดรากเทียมเฉพาะบุคคลที่แตกต่างกัน วัสดุและวิธีการ: สร้างแบบจำลองรากเทียมเดี่ยวทั้งหมด 8 แบบจำลองด้วยโปรแกรมโซลิคเวิร์คโดยมี ชนิดหลักยึดรากเทียมเฉพาะบุคคลแตกต่างกัน 4 ชนิดคือ หลักยึดรากเทียมไททาเนียม หลักยึดราก เทียมไททาเนียมรวมครอบฟัน หลักยึดรากเทียมเซอร์โคเนียฐานไททาเนียม และหลักยึดรากเทียม เซอร์โคเนียฐานไททาเนียมรวมครอบฟัน และให้แรงสบฟันแก่ครอบฟันแตกต่างกัน 2 ชนิดคือ แรง แนวตรงกระทำต่อตำแหน่งใกล้กลางของจุดศูนย์กลางฟันด้านบดเคี้ยว 2 มิลลิเมตรปริมาณ 200 นิวตัน และแรงแนวเฉียงกระทำต่อตำแหน่งใกล้เพดานปากของจุดศูนย์กลางฟันด้านบดเคี้ยว 2 มิลลิเมตร ปริมาณ 100 นิวตัน ใช้โปรแกรมอะบาคัสวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยโดยปริมาตรของค่าความเค้นวอนมิซ ค่า ความเค้นวอนมิซสูงสุด รูปแบบการกระจายความเค้น และค่าเปอร์เซ็นต์ส่วนต่าง ในรากเทียม สกรู หลักยึดรากเทียม หลักยึดรากเทียม และครอบฟัน โดยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ผลการศึกษา: พบค่าตัวแปรตามทั้ง 4 แสดงผลที่สอดคล้องกันทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบจากภาพรวม ของหลักยึดรากเทียมเฉพาะบุคคลทั้ง 4 ชนิดพบว่าหลักยึดรากเทียมไททาเนียมและหลักยึดรากเทียม เซอร์โคเนียฐานไททาเนียมทำให้เกิดค่าเฉลี่ยโดยปริมาตร ของค่าความเค้นวอนมิซสูงที่สุดที่รากเทียม และสกรูหลักยึดรากเทียมตามลำดับ กลุ่มเปรียบเทียบที่ 1 พบว่าหลักยึดรากเทียมเซอร์โคเนียฐานไท ทาเนียมทำให้เกิดค่าเฉลี่ยโดยปริมาตร ของค่าความเค้นวอนมิซสูงที่สุดที่ฐานไททาเนียม (19.16 เมกา ปาสคาล) และสกรูหลักยึดรากเทียม (15.62 เมกาปาสคาล) เมื่อเปรียบเทียบกับหลักยึดรากเทียมไททา เนียม กลุ่มเปรียบเทียบที่ 2 พบว่าหลักยึดรากเทียมไททาเนียมรวมครอบฟันทำให้เกิดค่าเฉลี่ยโดย ปริมาตรของค่าความเค้นวอนมิซสูงที่สุดที่หลักยึดรากเทียมรวมครอบฟัน (14.06 เมกาปาสคาล) และ สกรูหลักยึดรากเทียม (12.42 เมกาปาสคาล) เมื่อเปรียบเทียบกับหลักยึดรากเทียมไททาเนียม กลุ่ม เปรียบเทียบที่ 3 พบว่าหลักยึดรากเทียมเซอร์โคเนียฐานไททาเนียมทำให้เกิดค่าเฉลี่ยโดยปริมาตรของ ค่าความเค้นวอนมิซสูงที่สุดที่ฐานไททาเนียม (19.16 เมกาปาสคาล) และสกรูหลักยึดรากเทียม (15.62 เมกาปาสคาล) สรุปผลการศึกษา: ภายใต้ข้อจำกัดและขอบเขตการศึกษานี้พบว่า การให้แรงแนวเฉียงส่งผลให้ค่าเฉลี่ย โดยปริมาตรของค่าความเค้นวอนมิซของทุกชนิดหลักยึดรากเทียมแย่ลงโดยทั่วไป การใช้ฐานไททา เนียมทำให้เกิดการดูดซับความเค้นที่ฐานไททาเนียมและส่งผลต่อการปรับปรุงการกระจายความเค้นที่ รากเทียมสำหรับชนิดหลักยึดรากเทียมเซอร์โคเนียฐานไททาเนียม และการใช้หลักยึดรากเทียมรวม ครอบฟันส่งผลให้การกระจายความเค้นแย่ลงที่สกรูหลักยึดรากเทียมสำหรับชนิดหลักยึดรากเทียมไท ทาเนียมรวมครอบฟัน และที่รากเทียมสำหรับชนิดหลักยึดรากเทียมเซอร์โคเนียฐานไททาเนียมรวม ครอบฟันen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620931037 ศุภกฤต พุ่มนิล.pdf4.46 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.