Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78917
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชัยวัฒน์ นันทศรี | - |
dc.contributor.author | ธันทิวา ภักดีภัทรากร | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-10-05T01:33:07Z | - |
dc.date.available | 2023-10-05T01:33:07Z | - |
dc.date.issued | 2019-11 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78917 | - |
dc.description.abstract | This research aimed to develop a Lanna food cooking game. The methods used in this research were studying documents about Lanna food and interviewing the experts of Lanna food to collect the knowledge base and analyze the level of cooking methods, ingredients, seasonings of Lanna food. The game was designed with the knowledge from this research and developed the game based on SDLC Model. The game presented Lanna food and other Lanna cultures such as Lanna traditional dress, Lanna traditional houses, Lanna eating cultures. The gameplay was related to storytelling and characters. Game players had to cook the Lanna dish from each of Lanna traditional house. There was an instruction to help players. If the mission was completed, players would get scores and ingredients symbols. The special function of the game was to save the important scenes of game to share on the social media. The certificate was given to the players on the last scene. Then, the fifty participants as a sample tested game and evaluated. It was found that a sample was satisfied contents, game design, and game features at the high level. The sample’s knowledge of Lanna food cooking before playing game was at the middle level. After playing game, the sample’s knowledge was increased to the high level. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนาเกมทำอาหารล้านนา | en_US |
dc.title.alternative | Developing a Lanna food cooking game | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | อาหารไทย (ภาคเหนือ) | - |
thailis.controlvocab.thash | การปรุงอาหาร -- ไทย (ภาคเหนือ) | - |
thailis.controlvocab.thash | ซอฟต์แวร์ -- การพัฒนา | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเกมทำอาหารล้านนา โดยใช้วิธีการศึกษาเอกสารเกี่ยวกับอาหารล้านนา และสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านการทำอาหารล้านนา เพื่อรวบรวมองค์ความรู้และวิเคราะห์วิธีการแบ่งประเภทอาหาร วัตถุดิบและเครื่องปรุง ระดับความยากง่ายในการทำอาหาร จากนั้นนำความรู้ไปออกแบบเป็นเกมทำอาหารล้านนา โดยใช้ขั้นตอนการพัฒนาแบบ SDLC ผลการศึกษาทำให้ได้เกมทำอาหารล้านนาที่นำเสนอวัฒนธรรมการทำอาหารล้านนา และเรื่องอื่น ๆ ได้แก่ การแต่งกายของคนล้านนา ลักษณะของเรือนและครัวล้านนา วิธีการรับประทานอาหารของคนล้านนา โดยมีระดับการเล่นที่สัมพันธ์กับเนื้อเรื่องและตัวละคร ผู้เล่นจะต้องทำอาหารแต่ละเรือน ซึ่งมีคำอธิบายประกอบ โดยมีระบบสะสมคะแนนและสะสมวัตถุดิบอย่างมีเงื่อนไข ผู้เล่นสามารถบันทึกภาพได้เพื่อใช้เผยแพร่บนสื่อสังคมออนไลน์ เมื่อเล่นเกมจบจะได้รับประกาศนียบัตรที่มีชื่อและภาพหน้าของผู้เล่นพร้อมคะแนนรวมทั้งหมด จากนั้นได้ให้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 50 คน ทดลองเล่นเกมและทำแบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อเกม ผลการทดสอบพบว่า กลุ่มตัวอย่างพึงพอใจความถูกต้องของเนื้อหา การออกแบบองค์ประกอบในเกม และความสามารถของเกมโดยภาพรวมในระดับมาก โดยกลุ่มตัวอย่างมีความรู้เรื่องอาหารล้านนาก่อนเล่นเกมในระดับปานกลาง เมื่อเล่นเกมจบแล้ว กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องอาหารล้านนาเพิ่มขึ้นเป็นระดับมาก | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600132001 ธันทิวา ภักดีภัทรากร.pdf | 21.42 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.