Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78902
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วันชัย เลิศวัฒนวิลาศ | - |
dc.contributor.advisor | พิมพาภรณ์ กลั่นกลิ่น | - |
dc.contributor.author | จีราพร ปูรียา | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-09-27T09:50:44Z | - |
dc.date.available | 2023-09-27T09:50:44Z | - |
dc.date.issued | 2023-04 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78902 | - |
dc.description.abstract | The coronavirus disease 2019 (COVID-19) is an infectious disease that causes infections in patients’ respiratory systems. This predictive research aimed to study the predictive factors of COVID-19 prevention practices among patients attending a respiratory infection clinic in a community hospital. The data was collected from March 2021 to March 2022. The sample (n=347) included patients who received services at a respiratory infection clinic in a community hospital in the southern region, and who were selected using purposive sampling. Research instruments included the Health Belief Questionnaire for COVID-19 and the COVID-19 Prevention Behavior Questionnaire 2019. Both instruments were tested for content validity by 6 experts and the content validity indices of the instruments were 0.97 and 0.82, respectively. The internal consistency of the reliability of each instrument was 0.75 and 0.72, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics and stepwise multiple regression analysis. The results showed that COVID-19 prevention behavior was at a high level (x̅±SD= 102.00 ± 4.93). The perceived risks, the perceived severity of the disease, the perceived benefits of the treatment and prevention, the perceived barriers, and cue to practice action were all at a high level with a mean score and standard deviation of 19.11 (SD±1.87), 44.93 (SD±3.65), 22.36 (SD±1.94), 14.88 (SD±2.17), and 44.37 (SD±3.35), respectively. The perceived benefits of the treatment and prevention (β=.92, p<0.05) and the perceived severity of the disease (β=.36, p<0.05) were the only factors that could predict COVID-19 prevention behavior, and they could explain 52.2% of the variation of prevention behavior. Therefore, development of programs focusing on the perceived benefits of the treatment and prevention and the perceived severity of the disease are the most important and can lead to improving COVID-19 prevention practices among patients attending respiratory infection clinics in community hospitals. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ปัจจัยทำนาย | en_US |
dc.subject | ไวรัสโคโรนา 2019 | en_US |
dc.subject | โรงพยาบาลชุมชน | en_US |
dc.subject | โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ | en_US |
dc.subject | การปฏิบัติการป้องกันโรค | en_US |
dc.subject | Factors Predicting | en_US |
dc.subject | Coronavirus Disease 2019 | en_US |
dc.subject | Prevention Practices | en_US |
dc.subject | Community Hospital | en_US |
dc.subject | Respiratory Infection | en_US |
dc.title | ปัจจัยทำนายการปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในผู้ป่วยที่มารับบริการที่คลินิกโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจโรงพยาบาลชุมชน | en_US |
dc.title.alternative | Factors predicting coronavirus disease 2019 prevention practices among patients receiving services at the respiratory infection clinic, a community hospital | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | การติดเชื้อโคโรนาไวรัส | - |
thailis.controlvocab.thash | โควิด-19 (โรค) | - |
thailis.controlvocab.thash | การติดเชื้อจากชุมชน -- ภาคใต้ | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงพยาบาลชุมชน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นโรคติดต่อที่ผู้ป่วยโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ เป็นกลุ่มเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เนื่องจากมีผลกระทบโดยตรงต่อระบบทางเดินหายใจ การวิจัยเชิงทำนายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายการปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในผู้ป่วยที่มารับบริการที่คลินิกโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจในโรงพยาบาลชุมชน รวบรวมวิจัยระหว่างเดือนมีนาคม พ.ศ. 2564-เดือนมีนาคม พ.ศ. 2565 กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา จำนวน 347 คน เป็นผู้ป่วยที่มารับบริการที่คลินิกโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ โรงพยาบาลชุมชน ในภาคใต้ ได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามความเชื่อด้านสุขภาพการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 6 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 0.97 และ 0.82 ตามลำดับ ค่าความเชื่อมั่นของความสอดคล้องภายใน ของแบบสอบถาม ได้เท่ากับ 0.75 และ 0.72 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ102.00 (SD ± 4.93) ซึ่งอยู่ในระดับสูง การรับรู้โอกาสเสี่ยง การรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ประโยชน์ของรักษาและการป้องกันโรค การรับรู้อุปสรรค และการรับรู้สิ่งชักนำให้เกิดการปฏิบัติต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมารถฐานเท่ากับ 19.11 (SD±1.87), 44.93 (SD±3.65), 22.36 (SD±1.94), 14.88 (SD±2.17), และ 44.37 (SD±3.35) ตามลำดับ ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับสูงทุกตัว การรับรู้ความรุนแรงของโรค (β =.92, p. <0.05) และการรับรู้ประโยชน์ของการรักษาและการป้องกันโรค (β=.36, p.<0.05) สามารถทำนายพฤติกรรมการปฏิบัติการปฏิบัติการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ร้อยละ 52.20 การพัฒนาโปรแกรมที่เน้นการส่งเสริมการรับรู้ความรุนแรงของโรค และการรับรู้ประโยชน์ของการรักษาและการป้องกันโรค เป็นสิ่งสำคัญที่จะนำไปสู่การปฏิบัติเพิ่มขึ้นของพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในผู้ป่วยที่มารับบริการที่คลินิกโรคติดเชื้อ ระบบทางเดินหายใจโรงพยาบาลชุมชน | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621231120 จีราพร ปูรียา WM.pdf | 2.46 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.