Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78842
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัฐพล ปิ่นนราทิพย์ | - |
dc.contributor.author | กัญญวรรณ จารุญ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-09-11T00:52:42Z | - |
dc.date.available | 2023-09-11T00:52:42Z | - |
dc.date.issued | 2023-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78842 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research is to increase the production capacity of a case study company for the production of electronic circuit board type A, B and C for automotive sensors. Currently, these 3 products have a production capacity which is not enough to meet the demand for products that are likely increasing in 2023, and they already utilize 100% of space in the current area that they can not to add any working station more in the current area. In addition, there is a space that did not utilize within the company.Therefore, the researcher applied to plant layout improvement to increase the efficiency in term of space utilization, reducing the materials flow distance and applied multi-criteria decision making by TOPSIS method to determine the suitable factory layout by considering the selection of the layout determine the suitable factory layout by considering the selection of the layout with 5 criteria 1) Operation Cost 2) Space Utilization 3) Time period 4) Distance between Station 5) Utilization of Current Utility. The criteria for consideration were selected and calculated from the Index of Concordance (IOC). After applied the TOPSIS method to select the layout option 2 was the most suitable choice. The researcher proposed this option to improve the factory layout to expand the production area and increase production capacity to meet the increasing demand. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การปรับปรุงผังโรงงาน | en_US |
dc.title | การออกแบบผังโรงงานผลิตแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์สำหรับเซนเซอร์รถยนต์ | en_US |
dc.title.alternative | Plant layout design of electronic circuit board for automotive sensor factory | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | การวางผังโรงงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงงาน -- การออกแบบและการสร้าง | - |
thailis.controlvocab.thash | วิศวกรรมการผลิต | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มกำลังการผลิตให้กับการผลิตแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์สำหรับเซนเซอร์รถยนต์ชนิด A, B และ C ของบริษัทกรณีศึกษา เนื่องจากในปัจจุบันผลิตภัณฑ์ทั้งสามชนิดนี้มีกำลังการผลิตไม่เพียงพอที่จะตอบสนองต่อความต้องการสินค้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในปี 2566 และมีข้อจำกัดด้านพื้นที่ที่ไม่สามารถขยายเพื่อเพิ่มสถานีงานสำหรับขยายกำลังการผลิตในพื้นที่ดำเนินงานปัจจุบัน ประกอบกับภายในบริษัทมีพื้นที่ว่างที่ยังไม่ถูกใช้งาน ดังนั้นผู้วิจัยจึงนำแนวการปรับปรุงผังโรงงานมาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในด้านของการใช้พื้นที่ การลดระยะทางในการไหลของวัสดุ และประยุกต์ใช้ การตัดสินใจแบบหลายเกณฑ์ โดยวิธี TOPSIS เพื่อพิจารณาเลือกผังโรงงานที่มีความเหมาะสมมากที่สุด โดยพิจารณาคัดเลือกผังโรงงานด้วย 5 เกณฑ์ ได้แก่ ด้านต้นทุนในการดำเนินการ ด้านการใช้ประโยชน์ของพื้นที่ ด้านระยะเวลาในการดำเนินการติดตั้ง ด้านระยะทางในการเคลื่อนย้ายวัสดุระหว่างสถานีงาน และด้านการใช้ประโยชน์จากพื้นที่เดิม โดยเกณฑ์ในการพิจารณานี้ได้มาจากการคัดเลือกและคำนวณดัชนีความสอดคล้อง (IOC) จากการดำเนินงานวิจัยและประยุกต์ใช้วิธี TOPSISเพื่อเลือกผังโรงงานเบื้องต้น จากการดำเนินการวิจัยและประเมินทางเลือกพบว่า ผังโรงงานแบบที่ 2 เป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด ผู้วิจัยจึงได้ทำการเสนอต่อที่ประชุมให้ทำการปรับปรุงผังโรงงานตามการออกแบบเพื่อขยายพื้นที่การผลิตและเพิ่มกำลังการผลิตให้เพียงพอต่อปริมาณความต้องการที่เพิ่มขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650632045 กัญญวรรณ จารุญ.pdf | 12.33 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.