Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78835
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภิญโญ พวงมะลิ-
dc.contributor.authorชินภพ ชินเพ็ญสวัสดิ์en_US
dc.date.accessioned2023-09-10T06:51:39Z-
dc.date.available2023-09-10T06:51:39Z-
dc.date.issued2566-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78835-
dc.description.abstractRemote center of motion mechanism is useful in robot-assisted surgical bone drilling because it offers an advantage of having the end link to move around a fixed point located outside its base, which is known as the remote center of motion (RCM). When the RCM is placed at the bone surface, the drill can be oriented at the desired drilling angle without changing the drilling position. For this reason, this independent study focuses on developing a mechanically constrained remote center of motion parallel mechanism, which has high stiffness and reliability. The kinematics and workspace analysis are conducted for designing and controlling the mechanism. The mechanism can be operated in two modes: manual speed control of the actuated link through a force sensor and automatic position control via a graphical user interface. The end-effector of the mechanism can be rotated around the x-axis within a range of -30 to 30 degrees and around the y-axis within a range of -30 to 30 degrees. Based on experimental verification, it was found that the deviation of the remote center of motion is less than 1 millimeter throughout the entire range of such angular movement.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาหุ่นยนต์ขนาน 3 องศาอิสระสำหรับศัลยกรรมการเจาะกระดูกen_US
dc.title.alternativeDevelopment of a 3 degree-of-freedom parallel robot for surgical bone drillingen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด-
thailis.controlvocab.thashอุปกรณ์และเครื่องมือศัลยกรรม-
thailis.controlvocab.thashกระดูก -- ศัลยกรรม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractกลไกที่มีจุดศูนย์กลางการเคลื่อนที่ระยะไกลนิยมใช้ในระบบหุ่นยนต์ช่วยศัลยกรรมเจาะกระดูกเนื่องจากจุดเด่นของกลไก คือส่วนปลายของกลไกสามารถหมุนรอบจุดหยุดนิ่งจุดหนึ่ง ซึ่งจุดนั้นอยู่ห่างจากฐาน เรียกว่าจุดศูนย์กลางการเคลื่อนที่ระยะไกลและเมื่อกำหนดให้จุดศูนย์กลางการเคลื่อนที่ระยะไกลเป็นตำแหน่งบนผิวกระดูกที่ต้องการเจาะ กลไกสามารถเปลี่ยนมุมการเจาะให้เหมาะสมโดยที่ตำแหน่งไม่เปลี่ยน ด้วยเหตุผลนี้งานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นการพัฒนากลไกขนานที่มีจุดศูนย์กลางการเคลื่อนที่ระยะไกลที่มีการจำกัดการเคลื่อนที่ระยะไกลด้วยกลไกซึ่งมีความแข็งแรงและความเชื่อถือได้สูง การคำนวณพื้นที่ทำงานและการวิเคราะห์จลนศาสตร์ของกลไกนำมาใช้ในการออกแบบและควบคุมการเคลื่อนที่ของกลไก การควบคุมการทำงานกลไกสามารถทำได้ 2 รูปแบบคือ การควบคุมความเร็วของก้านขับผ่านเซนเซอร์วัดแรงและการควบคุมตำแหน่งของส่วนปลายกลไกผ่านส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ โดยส่วนปลายกลไกสามารถหมุนรอบแกน x ได้ในช่วง -30 ถึง 30 องศา และรอบแกน y ในช่วง -30 ถึง 30 องศา จากการทดสอบพบว่าตำแหน่งของจุดศูนย์กลางการเคลื่อนที่ระยะไกลมีความคลาดเคลื่อนไม่เกิน 1 มิลลิเมตรตลอดช่วงการเคลื่อนที่en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620631048-ชินภพ ชินเพ็ญสวัสดิ์.pdf3.36 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.