Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78803
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาปี มโนภินิเวศ-
dc.contributor.authorธนัฏฐา ธังดินen_US
dc.date.accessioned2023-09-09T06:13:34Z-
dc.date.available2023-09-09T06:13:34Z-
dc.date.issued2023-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78803-
dc.description.abstractThe research has been conducted with a case study company in the northern industrial which operates as a business that produces electronic components for camera lens. Currently, production has many defects in the lens forming process. Therefore, the researcher has applied the one method of Six sigma, the DMAIC process was applied to improve the process. First, the researcher defined the scratch defect problem by applied the Pareto chart. Then, the researcher measured the process (measure phase) and analyzed the problem by applied the cause and effect diagram and FMEA analysis to identify the root causes of the problem. Furthermore, the researcher has applied the hypothesis testing to analyze the problem also. After that, the researcher has proposed the solutions were 1) changing and defining the diameter of the glass tray’s hole 2) changing the method for mold inspection 3) defining the time of acid soaking 4) defining the method and lifetime for cleaning the robot and changing the diameter of the robot. After the researcher applied the improvement method and controlled the process by used the control chart and create the new work instruction found that the defects result can be reduced as 52,297 parts per million or it can be reduced average 2,031 pieces per month. This reduction was estimated as the saving cost as 68,038.50 baht per month.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการลดของเสียประเภทรอยขีดข่วนในกระบวนการขึ้นรูปเลนส์โดยวิธีซิกซ์ซิกมาen_US
dc.title.alternativeScratch defect reduction in lens forming process by six sigma approachen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashซิกซ์ซิกมา (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ)-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมคุณภาพ -- มาตรฐาน-
thailis.controlvocab.thashเลนส์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยครั้งนี้ได้บริษัทกรณีศึกษาเป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจผลิตชิ้นส่วนอิเล็คโทรนิกส์เกี่ยวกับเลนส์กล้องแห่งหนึ่งในเขตอุตสาหกรรมภาคเหนือ ซึ่งปัจจุบันพบว่า มีการเกิดของเสียที่กระบวนการขึ้นรูปเลนส์จำนวนมาก ดังนั้นผู้วิจัยได้ใช้วิธีการปรับปรุงวิธีหนึ่งของซิกซ์มา คือวิธีการ DMAIC มาประยุกต์ใช้ในการปรับปรุง โดยเริ่มจากการกำหนดหัวข้อปัญหา (Define phase) คือของเสียประเภทรอยขีดข่วน โดยใช้แผนภาพพาเรโต จากนั้นจึงวัดผลกระบวนการ (Measure phase) และวิเคราะห์ปัญหา (Analyze phase) โดยใช้แผนผังสาเหตุและผล (Cause and effect diagram) และการวิเคราะห์ลักษณะความผิดพลาดและผลกระทบ (FMEA analysis) เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา นอกจากนี้ยังนำการทดสอบสมมติฐานมาเป็นเครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์ปัญหาอีกด้วย จากนั้นผู้วิจัยจึงได้มีการนำเสนอแนวทางแก้ไข (Improve phase) ดังนี้ 1) การเปลี่ยนและกำหนดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางรูของถาดแก้ว 2) การเปลี่ยนวิธีการตรวจสอบแม่พิมพ์ 3) กำหนดระยะเวลาแช่กรด 4) กำหนดวิธี และรอบการทำความสะอาดหัว Robot และการเปลี่ยนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางหัว Robot หลังการดำเนินงานและควบคุมกระบวนการ (Control phase) ด้วยการประยุกต์ใช้แผนภูมิควบคุมและกำหนดมาตรฐานการทำงานใหม่ พบว่า ของเสียประเภทรอยขีดข่วนลดลง 52,292 ชิ้นต่อหนึ่งล้านชิ้น หรือจำนวนของเสียประเภทรอยขีดข่วนลดลงเฉลี่ย 2,031 ชิ้นต่อเดือน ซึ่งคิดเป็นมูลค่าความเสียหายที่ลดลงประมาณ 68,038.50 บาทต่อเดือนen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640632039 ธนัฏฐา ธังดิน.pdf5.61 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.