Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78795
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุภาวดี เพชรเกตุ | - |
dc.contributor.author | สุริยา วงค์ชัย | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-09-09T05:37:01Z | - |
dc.date.available | 2023-09-09T05:37:01Z | - |
dc.date.issued | 2023-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78795 | - |
dc.description.abstract | This thesis aimed to examine the creative process of "Koh Luang" textile or tapestry woven textile of the Tai Lue people in the Sri Donchai community, Chiang Khong district, Chiang Rai, Thailand, through the use of fieldwork data, which consisted of interviews with textile experts and weavers in the community to collect information about weaving techniques, formats, and the patterns of Koh Luang textiles. The results showed that Koh Luang textiles of Tai Lue people in the Sri Donchai community, Chiang Khong district, Chiang Rai, had a significant identity, namely the weaving technique of Koh Luang in the center of the tube skirt in various colours. The Tai Lue people of the Sri Donchai community had preserved and creatively adapted their weaving techniques to the modern world. Producing Koh Luang textile began with designing more extensive and intricate patterns based on the traditional tube skirt structure. Then, refine weaving techniques by increasing silk yarn and metal thread to add value to the woven textile an story to accompany the pattern. In addition to bringing Koh Luang textiles be transformed into various products to satisfy the demands of the modern market. In addition, the Tai Lue people of the Sri Donchai had a management structure to preserve the community's knowledge by forming a group of weavers and cultural learning centers. Through ritual practices, culteral learning materials were created, and pride in the value of Tai Lue woven Textiles was transmitted. It employed social media and national and international trade shows to promote public relations for Koh Luang textiles. Therefore, Koh Luang textiles are folk art object that have undergone a creative process that contributes economic value to the community. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผ้าเกาะล้วง: กระบวนการสร้างสรรค์ผ้าทอไทลื้อ บ้านศรีดอนชัย อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย | en_US |
dc.title.alternative | tapestry woven textile: creative process of Tai Lue weaving in Sri Don Chai community, Chiang Khong district, Chiang Rai | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ไทลื้อ | - |
thailis.controlvocab.thash | ลื้อ | - |
thailis.controlvocab.thash | ผ้าเกาะล้วง | - |
thailis.controlvocab.thash | การทอผ้า -- เชียงของ (เชียงราย) | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์นี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษากระบวนการสร้างสรรค์ “ผ้าเกาะล้วง” ของชาวไทลื้อ บ้านศรีดอนชัย อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย โดยใช้ข้อมูลจากการลงภาคสนาม คือ การสัมภาษณ์วิทยากรผู้มีความเชี่ยวชาญด้านผ้า และช่างทอผ้าในชุมชน เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเทคนิคการทอ รูปแบบและลวดลายผ้าเกาะล้วง ผลการวิจัยพบว่า ผ้าเกาะล้วงของชาวไทลื้อ บ้านศรีดอนชัย อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย มีอัตลักษณ์สำคัญ คือ การทอเทคนิคเกาะล้วงหลากสีบริเวณกลางตัวซิ่น ชาวไทลื้อบ้านศรีดอนชัยได้อนุรักษ์และพัฒนารูปแบบการทอให้สอดคล้องกับโลกยุคปัจจุบันอย่างสร้างสรรค์ กระบวนการสร้างสรรค์ผ้าเกาะล้วง เริ่มตั้งแต่การออกแบบลวดลายโดยอ้างอิงจากโครงสร้างผ้าซิ่นแบบดั้งเดิม พัฒนาลวดลายให้มีขนาดใหญ่และมีความซับซ้อน พัฒนาเทคนิคการทอ เพิ่มการใช้วัสดุเส้นไหม เส้นโลหะเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม เพิ่มเรื่องเล่าประกอบลวดลายเพื่อสร้างคุณค่าให้แก่ผ้าทอ ตลอดจนนำผ้าเกาะล้วงมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์หลากรูปแบบเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดในยุคสมัยใหม่. นอกจากนี้ ชาวไทลื้อ บ้านศรีดอนชัยยังมีการจัดการอนุรักษ์องค์ความรู้ของชุมชนโดยการรวมกลุ่มช่างทอผ้า การสร้างแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรม อีกทั้งสืบสานความภาคภูมิใจในคุณค่าของผ้าทอไทลื้อ ผ่านประเพณีพิธีกรรม เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ้าเกาะล้วงผ่านสื่อโซเชียลมีเดีย และการออก ร้านในระดับชาติและนานาชาติ ผ้าเกาะล้วงจึงเป็นคติชนประเภทวัตถุที่ผ่านกระบวนการสร้างสรรค์ทำให้เกิดคุณค่าและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจแก่ชุมชน | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610131014-suriya wongchai.pdf | 68.63 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.