Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78782
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Thongchai Phuwanatwichit | - |
dc.contributor.advisor | Charin Mangkhang | - |
dc.contributor.advisor | Atchara Kerdtep | - |
dc.contributor.author | Sitaphat Sirichatdaycha | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-09-08T01:23:34Z | - |
dc.date.available | 2023-09-08T01:23:34Z | - |
dc.date.issued | 2023-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78782 | - |
dc.description.abstract | Research on Cultural Heritage Management for the Preservation of Community Identity in Khlong Suan Market Community 100 years Chachoengsao and Samut Prakan provinces are intended to: 1) Study the existence and transformation of cultural heritage of Khlong Suan Market Community 100 years 2) Study the process of cultural heritage management for maintaining the identity of Khlong Suan Market Community 100 years. and 3) propose a cultural heritage management guideline for maintaining the identity of Khlong Suan Market Community 100 years way for community learning. This research is qualitative research. Data were collected from 22 people in Khlong Suan Centennial Market Community. The tools used were searching for relevant documents, interviews, and observations. The results of the research showed that: 1) Cultural heritage of Khlong Suan Market Community 100 years Chachoengsao and Samut Prakan provinces that still exists include ancient wooden buildings and bridges, religious places, opera, and opera performances. The tradition of the community is the festival of the Chao Pho Khlong Suan Shrine. Annual Chinese opera at Pueng Thao Kong Shrine Suan Samakkee Canal Fair and Vegetarian Festival knowledge of food wisdom, agriculture, and herbs, and still maintain cultural heritage Including the way of the community by inheriting and passing on the cultural heritage to the next generation. 2) Cultural heritage management process to maintain the identity of Khlong Suan Market Community 100 years It requires collaboration between internal drives. These include community people, community philosophers, community organizations, community leaders, and external driving forces, such as the public and private sectors. There are 4 steps: Step One Value Awareness Second, planning and implementation. Third stage of inspection and final reporting and public relations communications and 3) cultural heritage management model for maintaining community identity. Khlong Suan Market Community 100 years (KART) is a guideline for the development of learning areas of Khlong Suan Market Community 100 years. It is divided into 3 parts through the community's learning resources: 1) Living Museum, inside which there are exhibitions about the history of Khlong Suan Market Community 100 years. 2) Learning and skill development area Workshop for Chinese cooking Muslim Food Thai food and agricultural learning centers, and 3) The area of learning resources within the community, namely Chao Pho Klong Suan Shrine Pung Tao Kong Shrine Vegetarian Restaurant Peng Ang Tua Khlong Suan Temple and Mosque by relying on internal driving forces such as people in the community, community philosophers, community leaders, community organizations and external driving forces such as the public sector, private sector and tourists This is caused by the participation of the community through lifelong learning in community-based learning. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Cultural heritage management for maintaining the identity of the Klong Suan market community 100 year Chachoengsao and Samut Prakan provinces | en_US |
dc.title.alternative | การจัดการมรดกวัฒนธรรมเพื่อการดำรงอัตลักษณ์วิถีชุมชนตลาดคลองสวนร้อยปี จังหวัดฉะเชิงเทราและจังหวัดสมุทรปราการ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Cultural property--Samut Prakan | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Cultural--Samut Prakan | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Khlong Suan Market | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Historic preservation--Samut Prakan | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยเรื่อง การจัดการมรดกวัฒนธรรมเพื่อการดำรงอัตลักษณ์วิถีชุมชนตลาดคลองสวนร้อยปี จังหวัดฉะเชิงเทราและจังหวัดสมุทรปราการ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการดำรงอยู่และการเปลี่ยนแปลงมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนตลาดคลองสวน 2) ศึกษากระบวนการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อการดำรงอัตลักษณ์วิถีชุมชนตลาดคลองสวน และ 3) นำเสนอแนวทางการจัดการมรดกทางวัฒนธรรมเพื่อการดำรงอัตลักษณ์วิถีชุมชนตลาดคลองสวนเพื่อการเรียนรู้ชุมชน งานวิจัยฉบับนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเก็บข้อมูลจากคนในชุมชนตลาดคลองสวนร้อยปี เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง โดยการค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และการสังเกตการณ์ ผลการวิจัยพบว่า 1) มรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนตลาดคลองสวนร้อยปี จังหวัดฉะเชิงเทราและจังหวัดสมุทรปราการ ที่ยังคงมีการดำรงอยู่มีทั้งมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องได้ ได้แก่ (1) ด้านสถาปัตยกรรม อาทิ เรือนแถวไม้ร้อยปี และสะพานไม้โบราณ (2)ด้านศาสนสถาน อาทิ วัด มัสยิด ศาลเจ้า และโรงเจ และมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ได้แก่ (1) ด้านศิลปะการแสดงและวรรณกรรม อาทิ การแสดงอุปรากรงิ้วและบทละครงิ้ว (2) ด้านแนวทางปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณีและเทศกาล ได้แก่ งานสมโภชศาลเจ้าพ่อคลองสวน งานงิ้วประจำปีศาลเจ้าปึงเถ่ากง งานการกุศลคลองสวนสามัคคี และเทศกาลกินเจ (3) ด้านความรู้และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล อาทิ ความรู้ด้านภูมิปัญญาด้านอาหาร เช่น อาหารไทย (ปลาแนม แกงบอน) อาหารจีน (เป็ดพะโล้ ขนมหัวผักกาด กุนเชียง กุยช่าย) อาหารมุสลิม(มะตะบะ อาซูรอ) ความรู้ด้านการเกษตร ได้แก่ การทำนาบก และด้านสมุนไพร ได้แก่ น้ำนมข้าวยาคู และน้ำพริกสมุนไพรโดยปัจจุบันยังคงดูแล รักษา สืบทอด ส่งผ่าน อัตลักษณ์วิถีชุมชนซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าให้แก่คนรุ่นต่อไป สิ่งสำคัญคือมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้มีส่วนในการดำรงอยู่ของมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องได้ ผ่านการผลิตซ้ำ การมีส่วนร่วมของชุมชน 2) กระบวนการจัดการมรดกวัฒนธรรมเพื่อดำรงอัตลักษณ์วิถีชุมชนตลาดคลองสวนร้อยปี ต้องอาศัยการร่วมมือระหว่างพลังขับเคลื่อนจากภายใน ได้แก่ คนในชุมชน ปราชญ์ชุมชน องค์กรชุมชน รวมไปถึงผู้นำชุมชน และพลังขับเคลื่อนจากภายนอก ได้แก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน นักท่องเที่ยว ซึ่งมี 4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่หนึ่งการให้ความรู้ความเข้าใจด้านคุณค่า ขั้นที่สองการวางแผนและดำเนินงาน ขั้นที่สามเป็นการตรวจสอบ และขั้นสุดท้ายคือการรายงานและสื่อสารประชาสัมพันธ์ และ 3) แนวทางการจัดการมรดกวัฒนธรรมเพื่อการดำรงอัตลักษณ์วิถีชุมชนตลาดคลองสวนร้อยปี เป็นแนวทางการพัฒนาพื้นที่การเรียนรู้ (KART) ของชุมชนตลาดคลองสวนร้อยปี โดยแบ่งเป็น 3 ส่วน ผ่านเส้นทางการเรียนรู้ภายในชุมชน ได้แก่ 1)พิพิธภัณฑ์มีชีวิต โดยภายในมีการนิทรรศการเกี่ยวกับประวัติชุมชนตลาดคลองสวนร้อยปี และสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 2) พื้นที่การเรียนรู้และพัฒนาทักษะ มีการจัดทำ Work Shop สำหรับการทำอาหารจีน อาหารมุสลิม อาหารไทย และแหล่งเรียนรู้เกษตรกรรม และ 3) พื้นที่แหล่งเรียนภายในชุมชน ได้แก่ ศาลเจ้าพ่อคลองสวน ศาลเจ้าปุงเถ้ากง โรงเจเพ่งอังตั๊ว วัดคลองสวนและมัสยิดอัลวะต้อนียะห์ โดยอาศัยพลังขับเคลื่อนจากภายใน ได้แก่ คนในชุมชน ปราชญ์ชุมชน ผู้นำชุมชน และพลังขับเคลื่อนจากภายนอก ได้แก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน และนักท่องเที่ยว ซึ่งเป็นเกิดจากการมีส่วนร่วมของชุมชนผ่านการเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยชุมชนเป็นฐาน | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ศิตภัทร ศิริฉัตรเดชา 600252005.pdf | 7.12 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.