Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78777
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธเนศวร์ เจริญเมือง | - |
dc.contributor.author | ศุภชัย วรรณรัตน์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-09-04T00:40:23Z | - |
dc.date.available | 2023-09-04T00:40:23Z | - |
dc.date.issued | 2023-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78777 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research are 1) To study and compare the management of local government organizations before and after the 22 May 2014 coup of Mae Sap Subdistrict Administrative Organization (SAO), Samoeng District, Chiang Mai Province; 2) To study, analyze and explain factors affecting changes in administration of local administration organizations before and after the coup 22 May 2014 of Mae Sap Subdistrict Administrative Organization, Samoeng District, Chiang Mai Province; 3) to study and analyze the relationships between national political changes and the management of local authorities. This research is a qualitative study. The researcher collected data from in-depth interviews with key informants. Which is a group of stakeholders with the Mae Sap Subdistrict Administrative Organization, 4 groups of 5 people, namely local administrators, community leadership groups, government officials and employees and people’s representative groups. The results showed that 1) after the coup, the National Council for Peace and Order (NCPO) issued laws, regulations, and orders both directly through the use of Section 44 of the 2014 Interim Constitution and indirectly through the mechanisms of the central government and provincial units. As a result, the management of Mae Sab Subdistrict Administrative Organization, Samoeng District, Chiang Mai Province was affected in 4 aspects: one, personnel management of civil servants or sub-district employees was repositioned from Common level to Position Category Examination for local staff recruitment and examination for local government officials in the management line. The local unit cannot conduct the exam by itself like in the past. Two, budget management. Mae Sap Subdistrict Administrative Organization's income has decreased from the original after the NCPO government adjusted property and land tax collection and local maintenance tax It is a land and building tax collection instead. It has also reduced government subsidies and subsidized budgets that were earlier stated. As a result, the Mae Sap Subdistrict Administrative Organization has insufficient income for sub-district development and to control the procurement. Three, resources management. NCPO passed a new law on nationwide based procurement and materials administration, replacing local regulations, thus making local executions more difficult. And four, management aspects. NCPO issued an order to allow executives and local council members to continue to hold the positions with no more elections, thus blocking the democratic rights and freedoms of local people. NCPO also issued a law to reduce the number of SAO members to only one person per each village instead of two. 2) Factors affecting the changes of Mae Sap SAO, there are 4 aspects: NCPO (repealed the Constitution of 2007; halting local elections, etc); The Central Committee of the Local Employees Competitive Examination(appointed by NCPO, replacing the local employee selection exam with the national level selection exam, etc.); Ministry of Interior(issuing more regulations and orders to further command and control local government agencies, etc.) and the Department of Local Administration (DLA) (assigned more work for local administration organizations by claiming an integration approach but it is in fact a top-down approach). And 3) In local administration and management, NCPO has downplayed the significance of decentralization. In addition, NCPO gas wanted local government agencies to be merely implementators, mainly receiving orders from the central government. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การรัฐประหาร | en_US |
dc.subject | การบริหารจัดการ | en_US |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนตำบลแม่สาบ | en_US |
dc.title | การศึกษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนตำบลแม่สาบ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ก่อนและหลังการรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 | en_US |
dc.title.alternative | A Comparative study of the administrative management of the administration of Maesab Subdistrict Administration Organization, Samoeng District, Chiang Mai Province, before and after the coup on 22 May 2014 | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | องค์การบริหารส่วนตำบลแม่สาบ | - |
thailis.controlvocab.thash | องค์การบริหารส่วนตำบล -- สะเมิง (เชียงใหม่) | - |
thailis.controlvocab.thash | องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหาร | - |
thailis.controlvocab.thash | การปกครองท้องถิ่น | - |
thailis.controlvocab.thash | รัฐประหาร -- ไทย | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก่อนและหลังรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 ของ อบต.แม่สาบ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษา วิเคราะห์และอธิบาย ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการ อปท. ก่อนและหลังรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 ของ อบต.แม่สาบ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ 3) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงการเมืองระดับชาติ กับการบริหารจัดการอปท. งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้ทำการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ซึ่งเป็นกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับอบต.แม่สาบ จำนวน 4 กลุ่มๆละ 5 คน ประกอบด้วย กลุ่มผู้บริหารท้องถิ่น กลุ่มผู้นำชุมชน กลุ่มข้าราชการและพนักงาน และกลุ่มตัวแทนประชาชน ผลการวิจัยพบว่า 1) ภายหลังการรัฐประหาร คสช. ได้ออกกฎหมาย ระเบียบและข้อสั่งการต่างๆ ทั้งทางตรง คือการใช้มาตรา 44 แห่งรัฐธรรมนูญชั่วคราว พ.ศ.2557 และทางอ้อม ผ่านกลไกการทำงานของราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ทำให้ อบต.แม่สาบ ได้รับผลกระทบใน 4 ด้าน คือ หนึ่ง ด้านบริหารงานบุคคล ข้าราชการหรือพนักงานส่วนตำบล ถูกปรับเปลี่ยนตำแหน่งจากระบบซีเป็นระบบแท่ง การสอบบรรจุพนักงานส่วนท้องถิ่นและการสอบข้าราชการส่วนท้องถิ่นในสายงานผู้บริหาร ไม่สามารถดำเนินการสอบเองได้เหมือนในอดีตที่ผ่านมา สอง ด้านบริหารจัดการงบประมาณ อบต.แม่สาบมีรายได้ลดลงจากเดิมหลังจากรัฐบาล คสช.ปรับเปลี่ยนการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดินและภาษีบำรุงท้องที่ เป็นการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างแทน อีกทั้งยังลดงบประมาณเงินอุดหนุนของท้องถิ่นลง และอุดหนุนเงินงบประมาณที่รัฐบาลได้กำหนดวัตถุประสงค์เรียบร้อยแล้ว ทำให้อบต.แม่สาบมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการพัฒนาตำบล สาม ด้านบริหารจัดการทรัพยากร คสช.ประกาศบังคับใช้พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ประกอบกับออกกฎเกณฑ์ต่างๆเพื่อควบคุมการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปด้วยความยากลำบาก และ ผู้บริหาร และสมาชิกสภาท้องถิ่น ดำรงตำแหน่งต่อไปจนกว่าจะคำสั่งเปลี่ยนแปลง งดเว้นไม่ให้มีการเลือกตั้ง ปิดกั้นสิทธิและเสรีภาพทางประชาธิปไตยของประชาชนในท้องถิ่น และยังออกกฎหมายให้ลดจำนวนสมาชิก อบต. เหลือเพียงหมู่บ้านละ 1 คน กำหนดให้เขตหมู่บ้านเป็นเขตเลือกตั้ง 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการของอบต.แม่สาบ มี 4 ประการ ได้แก่ คสช. (ยกเลิกรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ระงับการเลือกตั้งตามวาระของผู้บริหารท้องถิ่น ฯลฯ) กสถ. (แต่งตั้งโดย คสช.เข้ามาควบคุมการบริหารงานบุคคลของท้องถิ่น โดยเฉพาะการจัดการสอบแข่งขันข้าราชการท้องถิ่นบรรจุใหม่ในระดับชาติ ฯลฯ) กระทรวงมหาดไทย (ออกระเบียบและคำสั่งต่างๆ เพื่อสั่งการและควบคุมท้องถิ่นให้มากขึ้น ฯลฯ) และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (รับเอางานของส่วนราชการอื่นๆมาให้ท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินการ โดยอ้างว่าเพื่อเป็นการบูรณาการทำงานร่วมกัน นอกจากนี้ยังเบียดบังงบประมาณของท้องถิ่นเพื่อดำเนินการแก้ไขปัญหาเหล่านั้น ฯลฯ) และ 3) การบริหารจัดการอปท.ขาดความเป็นอิสระ เนื่องจากรัฐบาล คสช.ได้ลดความสำคัญของการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น อีกทั้งได้พยายามลดทอนบทบาทของท้องถิ่นให้เป็นเพียงผู้ดำเนินการ โดยรับคำสั่งของรัฐบาลกลางเป็นหลัก | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631932073-SUPHACHAI WANNARAT.pdf | 1.19 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.