Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78759
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริรัตน์ ปานอุทัย-
dc.contributor.advisorณัฐธยาน์ สุวรรณคฤหาสน์-
dc.contributor.authorรำไพพรรณ หน้อยบุญตันen_US
dc.date.accessioned2023-08-30T10:11:35Z-
dc.date.available2023-08-30T10:11:35Z-
dc.date.issued2021-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78759-
dc.description.abstractOlder persons with metabolic syndrome having a high self-management ability are more likely to reduce the chance to develop complications. This correlation descriptive research aimed to investigate health literacy, self-management, and the relationship between health literacy and self-management among older persons with metabolic syndrome. The participants were 88 older persons with metabolic syndrome who had received medical treatment at the Tambon Health Promoting Hospital, Doi Saket, Chiang Mai during June - August 2021. The data collection tools were questionnaires regarding the health literacy of older persons with metabolic syndrome and the self-management of older persons with metabolic syndrome. Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson's product-moment correlation. The results revealed that older persons with metabolic syndrome had health literacy and self-management at a moderate level. Furthermore, health literacy positively correlated with self-management at a moderate level with a statistical significance of 0.01 (r = 0.661). The results of this study show basic information for health care personnel to plan for self-management enhancement among older persons with metabolic syndrome.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความรอบรู้ด้านสุขภาพและการจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่มีภาวะเมแทบอลิกซินโดรมen_US
dc.title.alternativeHealth literacy and self-management among older persons with metabolic syndromeen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเมทาบอลิกซินโดรม-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ-
thailis.controlvocab.thashการเผาผลาญผิดปกติ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractผู้สูงอายุที่มีภาวะเมแทบอลิกซินโดรมที่มีการจัดการตนเองที่ดีจะช่วยลดโอกาสการเกิดโรค แทรกซ้อน การวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรอบรู้ด้าน สุขภาพ การจัดการตนเอง และความสัมพันธ์ระ หว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพและการจัดการตนเองใน ผู้สูงอายุที่มีภาวะเมแทบอลิกซินโดรม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะเมแทบอลิกซินโดรมที่มารับ บริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในอำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 88 ราย ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม 2564 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้สูงอายุที่มีภาวะเมแทบอลิกซิน โดรม และแบบสอบถาม พฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุที่มีภาวะเมแทบอลิกซินโดรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิง พรรณนา และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่าผู้สูงอายุที่มีภาวะเมแทบอลิกซิน โครมมีความรอบรู้ด้านสุขภาพและการจัดการ ตนเองอยู่ในระดับปานกลาง โดยความรอบรู้ด้านสุขภาพมีความสัมพันธ์เชิงบวกระดับปานกลางกับ การจัดการตนเองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p < .0I (r = 0.661) ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับบุคลากรด้านสุขภาพในการวางแผนส่งเสริมการ จัดการตนเองในผู้สูงอายุที่มีภาวะเมแทบอลิกซินโดรมen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621231096 รำไพพรรณ หน้อยบุญตัน.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.