Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78747
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพล คงจิตต์-
dc.contributor.authorศุภธาดา ฉัตรแก้วสืบen_US
dc.date.accessioned2023-08-29T13:24:00Z-
dc.date.available2023-08-29T13:24:00Z-
dc.date.issued2566-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78747-
dc.description.abstractTechnology readiness levels are a technique used to assess the maturity of technology during its development phase, and it has been widely utilized to evaluate technology in various countries. Despite its complexity and intricacy, it is often inaccessible to users and does not fully accommodate certain types of technology, resulting in gaps in credible assessment. The objective of the research was to design and develop criteria for assessing the technological readiness of Maejo University, an institution that focused on agricultural research and innovation. Issues and solutions were derived from the application of the Double Diamond Model as a guideline for prototype development. Data collection was conducted through questionnaires and interviews with experts in research management, intellectual property, and individuals experienced in developing assessment criteria. The experts provide information about the assessment of technology readiness and correct information while sharing insights from their experiences in designing and developing assessment criteria. The test for the technology readiness level assessment criteria involved the creation of a questionnaire, using the Delphi technique to assess satisfaction in three aspects: usability compared to previous tools, content appropriateness, and reliability in its use. Overall, the results showed that participants accepted the development, with a mean usability score of compared to previous tools 4.339, content appropriateness 4.329, and reliability in its use 4.517. In conclusion, the technology readiness level assessment criteria developed for Maejo University from this research aimed to study, analyze, and address issues in assessing the readiness of research, technology, and innovation for commercial use by the Technology Readiness Levels (TRL) framework (production of innovative agricultural research) and can use research data to further develop other relevant assessment criteriaen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาการประเมินระดับความพร้อมด้านเทคโนโลยีของมหาวิทยาลัยแม่โจ้en_US
dc.title.alternativeDevelopment of technology readiness level assessment for Maejo Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashเทคโนโลยี-
thailis.controlvocab.thashการประเมินเทคโนโลยี-
thailis.controlvocab.thashเทคโนโลยี -- การประเมิน-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยแม่โจ้ -- การประเมิน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractระดับความพร้อมทางเทคโนโลยี (Technology readiness levels) เป็นเทคนิคในการประเมินระดับความสมบูรณ์ของเทคโนโลยีในช่วงระหว่างการพัฒนา และถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายในการประเมินเทคโนโลยีในหลากหลายประเทศ ซึ่งมีความซับซ้อน และเอียดอ่อนอย่างยิ่ง อีกทั้งผู้ใช้งานไม่สามารถเข้าถึงได้เท่าทีควร อีกทั้งการประเมินไม่สอดรับกับเทคโนโลยีบางประเภทได้อย่างเต็มที่ และยังเกิดช่องว่างของการประเมินที่น่าเชื่อถือ การวิจัยนี้มุ่งเน้นที่จะออกแบบและพัฒนาเกณฑ์สำหรับการประเมินความพร้อมด้านเทคโนโลยีของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มุ่งเน้นการทำวิจัยและนวัตกรรมด้านการเกษตร ปัญหาและวิธีแก้ปัญหามาจากการใช้โมเดลเพชร (Double Diamond Model) สำหรับเป็นแนวทางในการพัฒนาต้นแบบ มีการเก็บข้อมูลโดยแบบสอบถามและการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการบริหารจัดการงานวิจัยและทรัพย์สินทางปัญญา ผู้มีประสบการณ์ด้านการพัฒนาเกณฑ์การประเมิน เพื่อค้นพบข้อแก้ปัญหาต่างๆ โดยผู้เชี่ยวชาญให้ข้อมูลเกี่ยวกับการประเมินความพร้อมทางเทคโนโลยี และข้อมูลที่ถูกต้อง ในขณะที่มีประสบการณ์ด้านการออกแบบ และพัฒนาเกณฑ์การประเมินให้ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบเกณฑ์ที่เหมาะสมสำหรับเกณฑ์ในการประเมินความพร้อมด้านเทคโนโลยี สำหรับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประกอบด้วยเนื้อหาที่สื่อเพื่อการรับรู้ การให้ข้อมูลสำหรับการนำไปใช้ประโยชน์ การพิสูจน์เทคโนโลยี และการประเมินทางการตลาด การทดสอบเกณฑ์การประเมินความพร้อมด้านเทคโนโลยี มีการสร้างแบบสอบถามจากการประยุกต์ใช้เทคนิคเดลฟาย เพื่อประเมินความพึงพอใจทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ การประเมินด้านการใช้งานเมื่อเทียบกับเครื่องมือแบบเดิม การประเมินด้านความเหมาะสมของเนื้อหา และการประเมินด้านความเชื่อมั่นต่อการใช้งาน ผลลัพธ์โดยรวมแสดงให้เห็นว่าผู้เข้าร่วมทำแบบทดสอบยอมรับการพัฒนา โดยประเมินผลด้านการใช้งานเมื่อเทียบกับเครื่องมือแบบเดิมมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.339 การประเมินด้านความเหมาะสมของเนื้อหามีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.329 และการประเมินด้านความเหมาะสมของเนื้อหามีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.517 โดยสรุปเกณฑ์การประเมินระดับความพร้อมด้านเทคโนโลยีสำหรับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่มีการพัฒนาขึ้นจากงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิเคราะห์ ปัญหาการประเมินความพร้อมงานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรม สู่การนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ และพัฒนาเกณฑ์การประเมินความพร้อมของเทคโนโลยี โดยกรอบ Technology Readiness Levels TRL (การผลิตผลงานวิจัยเชิงนวัตกรรมเกษตร) และสามารถนำข้อมูลงานวิจัยไปต่อยอดสำหรับการพัฒนาเกณฑ์การประเมินอื่นๆที่เกี่ยวข้องได้en_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
612132006-ศุภธาดา ฉัตรแก้วสืบ.pdf3.45 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.