Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78710
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัชญา จันพายเพ็ชร-
dc.contributor.advisorเตือนใจ สมบูรณ์วิวัฒน์-
dc.contributor.advisorธนพงค์ ไชยชนะ-
dc.contributor.authorพงศธร คูณดีen_US
dc.date.accessioned2023-08-26T06:45:11Z-
dc.date.available2023-08-26T06:45:11Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78710-
dc.description.abstractThis research investigates the factors involved in the supply chain to assess the competitiveness of fast-growing plantations in Thailand for the biomass fuel wood industry, with a specific focus on a case study of Acacia spp. The study comprises the following components: 1) Analysis of biomass demand trends by examining statistical data on the import and export of wood pellets, along with forecasting techniques. The analysis reveals a global increase in wood pellet consumption. The Simple Moving Average model, with a three-month forecast, demonstrates the lowest forecasting error. The discrepancy is measured at MAD = 19,873, MSE = 6.61E+08, and MAPE = 17.78%. 2) Assessment of the competitiveness of the wood pellet industry using the diamond model. The study finds that the capacity of Thailand's wood pellet industry to compete in the international market remains insufficient. Regarding domestic competition, the industry exhibits a moderate level of competitiveness. However, Thailand can enhance its raw material supply by increasing the quantity of fuel wood to meet the demand. 3) Analysis of financial feasibility to support the information necessary for increasing the supply. The economic models used in the analysis indicate that investing in acacia wood is profitable, starting from the 5th year until Year 8 of the milling cycle, with respective return on investment (ROI) values of 19.40%, 92.85%, 182%, and 276.59%. Based on the study of all three components, it can be concluded that the global market is witnessing an increase in the amount of biomass, including imports, exports, and biomass production. Thailand currently possesses moderate capacity but holds potential for tree cultivation for fuel production. The economic feasibility analysis serves as supporting information and encourages investment for interested parties.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินศักยภาพทางการแข่งขันของการปลูกไม้โตเร็วในประเทศไทยสำหรับอุตสาหกรรมไม้เชื้อเพลิงชีวมวล: กรณีศึกษาไม้สกุลอคาเซีย (Acacia spp.)en_US
dc.title.alternativeAssessment of the competitiveness of fast-growing tree plantation in Thailand for wood-based biomass industry: a case study of Acacia spp.en_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashอคาเซีย-
thailis.controlvocab.thashไม้โตเร็ว -- การปลูก-
thailis.controlvocab.thashไม้โตเร็ว -- ไทย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยในครั้งนี้ได้ทำการศึกษาองค์ประกอบที่เกี่ยวเนื่องในโซ่อุปทานเพื่อทำการประเมินศักยภาพทางการแข่งขันของการปลูกไม้โตเร็วในประเทศไทยสำหรับอุตสาหกรรมไม้เชื้อเพลิงชีวมวล: กรณีศึกษา ไม้สกุลอคาเซีย (Acacia spp.) มีองค์ประกอบของการศึกษาได้แก่ 1) วิเคราะห์แนวโน้มความต้องการชีวมวล โดยวิเคราะห์จากสถิติข้อมูลการ นำเข้า-ส่งออก ของชีวมวลอัดแท่ง (Wood pellet) ร่วมกับเทคนิคการพยากรณ์ ผลการวิเคราะห์พบว่า ทั่วโลกมีอัตราการบริโภคชีวมวลอัดแท่งเพิ่มมากขึ้น โดยสามารถพยากรณ์แนวโน้มด้วยแบบจำลอง Simple Moving Average 3 เดือน เพราะให้ค่าความคลาดเคลื่อนในการพยากรณ์ต่ำที่สุด มีค่าความคลาดเคลื่อน MAD = 19,873, MSE = 6.61E+08 และ MAPE = 17.78% 2) วิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมชีวมวลอัดแท่งด้วยแบบจำลองเพชร ผลการศึกษาพบว่า ขีดความสามารถของอุตสาหกรรมชีวมวลอัดแท่งในประเทศไทยสำหรับเข้าไปแข่งขันในตลาดสากลยังมีขีดความสามารถไม่เพียงพอ ส่วนการเปรียบเทียบการแข่งขันภายในประเทศ พบว่า อุตสาหกรรมอยู่ในเกณฑ์ระดับขีดความสามารถในการแข่งขันระดับปานกลาง อย่างไรก็ตามประเทศไทยสามารถเพิ่มปริมาณไม้เชื้อเพลิงสำหรับเป็นวัตถุดิบ (Supply) เพื่อให้ตอบรับกับปริมาณความต้องการ (Demand) ดังนั้น 3) ได้ทำการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการเงินสำหรับเป็นข้อมูลส่งเสริมเพื่อเพิ่มปริมาณซัพพลาย (Supply) ผลการวิเคราะห์ผ่านแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า ไม้สกุลอคาเซียมีความคุ้มค่าในการลงทุนตั้งแต่ปีที่ 5 จนถึงปีที่ 8 ของรอบการตัดฟัน คิดเป็นค่า ROI = 19.40 %, 92.85%, 182 %, และ 276.59% ตามลำดับ จากผลการศึกษาทั้ง 3 องค์ประกอบของงานวิจัยนี้สรุปได้ว่าปริมาณชีวมวล เช่น การนำเข้า การส่งออก และการผลิต ชีวมวล มีปริมาณเพิ่มขึ้นในตลาดโลก ประเทศไทยมีขีดความสามารถปานกลาง แต่มีศักยภาพในการปลูกไม้เพื่อนำไปทำเป็นเชื้อเพลิง โดยข้อมูลการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์สามารถเป็นข้อมูลสนับสนุนและส่งเสริมการลงทุนให้กับผู้สนใจได้en_US
thesis.concealPublish (Not conceal)en_US
Appears in Collections:MARITIME: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
639932015 นายพงศธร คูณดี.pdf4.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.