Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78703
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรวิชย์ ถิ่นนุกูล-
dc.contributor.authorราชิษ ปิ่นณรงค์en_US
dc.date.accessioned2023-08-25T00:53:56Z-
dc.date.available2023-08-25T00:53:56Z-
dc.date.issued2023-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78703-
dc.description.abstractSince information regarding physical therapy for pregnant women is highly complicated and delicate, users are unable to access physical therapy information as they should, resulting in a gap for access to reliable information. Applications on smartphones are considered the best method for providing easy-to-access health information and advice, given that almost everyone has a smartphone. However, while many applications have been developed for pregnant women, not all are appropriate for providing easily accessible information for this group. This research study focused on designing and developing applications related to pregnant women that include information on physical therapy, physical therapy follow-up, and calculation of the length of pregnancy. Design thinking was used as a guideline for developing a model, and data were collected through interviews with experts in physical therapy for pregnant women and persons with experience in designing and developing applications. Experts in physical therapy for pregnant women provided information on how to perform physical therapy, safety protocols for performing physical therapy, and correct information, while persons with experience in application design and development provided information on user interface design and application functions. Suitable functions for the pregnancy physical therapy application include media content for acknowledgment, information on physical therapy, user records, data tracing, and data calculation. Application testing was performed by generating a questionnaire using the Delphi technique to evaluate user satisfaction with three aspects: user interface, system usage, and confidence in usage. According to the testing results, participants in the test accepted the development, with mean evaluation results of 4.558 for user interface, 4.764 for system usage, and 4.585 for confidence in usage. In conclusion, the pregnancy physical therapy application developed from this research aimed to provide pregnant women with easy access to reliable information for achieving safe and correct physical therapy practices. The study results can be used to develop other relevant applications.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการจัดการความรู้, ความคิดเชิงออกแบบ, โมบายแอปพลิเคชัน, ต้นแบบส่วนประสานผู้ใช้, สตรีตั้งครรภ์en_US
dc.titleการพัฒนาต้นแบบส่วนประสานผู้ใช้สำหรับฟังก์ชันในแอปพลิเคชันทางการแพทย์ด้านกายภาพบำบัดสำหรับกลุ่มสตรีตั้งครรภ์en_US
dc.title.alternativePrototype development of user interface for medical application functions of physical therapy for pregnant womenen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashการตั้งครรภ์-
thailis.controlvocab.thashสตรี-
thailis.controlvocab.thashกายภาพบำบัด-
thailis.controlvocab.thashโปรแกรมประยุกต์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractเนื่องจากข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการทำกายภาพบำบัดสำหรับสตรีตั้งครรภ์มีความซับซ้อนและละเอียดอ่อนอย่างยิ่ง อีกทั้งผู้ใช้งานไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลการทำกายภาพได้เท่าที่ควร อีกทั้งข้อมูลไม่สามารถตอบสนองต่อสตรีตั้งครรภ์ได้อย่างเต็มที่ และยังเกิดช่องว่างการเข้าถึงข้อมูลที่น่าเชื่อถือ แอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนได้รับการยอมรับว่าเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการให้ข้อมูลและคำแนะนำด้านสุขภาพที่เข้าถึงได้ง่าย เนื่องจากแทบทุกคนมีสมาร์ทโฟนใช้ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมีการพัฒนาแอปพลิเคชันสำหรับสตรีตั้งครรภ์หลากหลายแอปพลิเคชัน แต่มีเพียงไม่กี่แอปพลิเคชันที่พัฒนาอย่างเหมาะสมในการให้ข้อมูลสำหรับสตรีตั้งครรภ์ และสามารถใช้งานได้ง่าย การวิจัยนี้มุ่งเน้นไปที่การออกแบบและพัฒนาแอปพลิเคชันที่เกี่ยวข้องสำหรับสตรีตั้งครรภ์ ซึ่งมีข้อมูลเกี่ยวกับการทำกายภาพบำบัด การติดตามการทำกายภาพบำบัด และการคำนวณระยะเวลาของการตั้งครรภ์ ปัญหาและวิธีแก้ปัญหามาจากการใช้ความคิดเชิงออกแบบ สำหรับเป็นแนวทางในการพัฒนาต้นแบบ มีการเก็บข้อมูลและสัมภาษณ์ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านกายภาพบำบัดสำหรับกลุ่มสตรีตั้งครรภ์ ผู้มีประสบการณ์ด้านการออกแบบ และพัฒนาระบบแอปพลิเคชัน เพื่อค้นพบข้อแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านกายภาพบำบัดสำหรับกลุ่มสตรีตั้งครรภ์ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการทำกายภาพบำบัด ความปลอดภัยในการทำกายภาพ และข้อมูลที่ถูกต้อง ในขณะที่มีประสบการณ์ด้านการออกแบบ และพัฒนาระบบแอปพลิเคชันให้ข้อมูลเกี่ยวกับการออกแบบส่วนประสานผู้ใช้และการพัฒนาฟังก์ชันของแอปพลิเคชัน โดยฟังก์ชันที่เหมาะสมสำหรับแอปพลิเคชันการทำกายภาพบำบัดสำหรับสตรีตั้งครรภ์ ประกอบด้วยเนื้อหาสื่อเพื่อการรับรู้ การให้ข้อมูลสำหรับการทำกายภาพบำบัด การบันทึกข้อมูลผู้ใช้ การติดตามข้อมูล และการคำนวณข้อมูล การทดสอบแอปพลิเคชัน มีการสร้างแบบสอบถามจากการประยุกต์ใช้เทคนิคเดลฟาย เพื่อประเมินความพึงพอใจทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ การประเมินผลด้านส่วนประสานผู้ใช้ การประเมินผลด้านความพึงพอใจการใช้งานระบบ และการประเมินผลด้านความเชื่อมั่นต่อการใช้งาน และจากการทำผลทดสอบ ผลลัพธ์โดยรวมแสดงให้เห็นว่าผู้เข้าร่วมทำแบบทดสอบยอมรับกับการพัฒนา โดยการประเมินผลด้านส่วนประสานผู้ใช้มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.558 การประเมินผลด้านความพึงพอใจการใช้งานระบบมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.764 และการประเมินผลด้านความเชื่อมั่นต่อการใช้งานมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.585 โดยสรุปแอปพลิเคชันกายภาพบำบัดสำหรับสตรีตั้งครรภ์ที่มีการพัฒนาขึ้นจากงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มสตรีตั้งครรภ์สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย และข้อมูลสามารถเชื่อถือได้ เป็นที่ยอมรับจากผู้เชี่ยวชาญ และเมื่อทำกายภาพบำบัดจะได้มีความปลอดภัยและถูกต้อง และสามาถนำข้อมมูลงานวิจัยไปต่อยอดสำหรับการพัฒนาแอปพลิเคชันอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้en_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
612132002-ราชิษ ปิ่นณรงค์.pdf14.79 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.