Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78688
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รวีวรรณ แพทย์สมาน | - |
dc.contributor.author | มัณฑนา ประมา | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-23T00:47:58Z | - |
dc.date.available | 2023-08-23T00:47:58Z | - |
dc.date.issued | 2023-05-18 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78688 | - |
dc.description.abstract | The qualitative study “Operational Efficiency of Immigration Technology Division Officers of the Immigration Division 5” aimed to examine factors affecting the operational efficiency of immigration technology officers of the Immigration Division 5, to investigate the operational efficiency of immigration technology officers of the Immigration Division 5, and to find out ways to increase the operational efficiency of the immigration technology department of the Immigration Division 5. The data revealed that factors affecting the operational efficiency of immigration technology officers of the Immigration Division 5 as a whole were at a high level. When considering each aspect, it was found that the size of the organization had the highest mean, followed by work adaptation, organization policy and administration, governing and relationship between superiors, group and organization relations, nature of work and responsibilities, organizational culture, job security, organization involvement, career advancement, motivation, knowledge, skills and abilities, and working environment and resources used in operations, respectively. Moreover, the operational efficiency of immigration technology officers of the Immigration Division 5 was at a high level. When considering each aspect, it was found that workload had the highest mean, followed by achievement of objectives according to policies and missions, utilization of information technology resources in operations, quality of work, speed and cost-effectiveness in operation, management of the information system of the Immigration Office, and the transfer of information technology knowledge to other units in the organization, respectively. In terms of guidelines for increasing the operational efficiency of the immigration technology department of the Immigration Division 5, the data indicated that: 1) For the achievement of objectives according to policies and missions, management principles should be applied to assist in the management of immigration information systems in conjunction with law enforcement. 2) In terms of speed and cost-effectiveness in operation, the work process according to the principle of hierarchy should be reduced by distributing the authorities to all 17 provincial Immigration Division 5 3) Regarding the utilization of information technology resources in operations, modern technology should be used to assist in the work process. 4) Concerning the management of the information system of the Immigration Division, human resources should be provided, including materials, tools, and equipment, with the introduction of new technologies to reduce the work process and to promote education to human resources. 5) With regards to knowledge transfer on information technology to subordinate units, operation officers should be able to transfer knowledge on the use of immigration information systems to other units in the organization accurately, quickly, and completely. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ประสิทธิภาพ | en_US |
dc.subject | เทคโนโลยี | en_US |
dc.subject | ตรวจคนเข้าเมือง | en_US |
dc.subject | Immigration | en_US |
dc.subject | Technology | en_US |
dc.title | ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคโนโลยีตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 5 | en_US |
dc.title.alternative | Operational efficiency of immigration technology division officers of the Immigration Division 5 | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง -- การทำงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 5 | - |
thailis.controlvocab.thash | คนเข้าเมือง | - |
thailis.controlvocab.thash | เทคโนโลยี | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาเรื่อง ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคโนโลยีตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 5 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคโนโลยีตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 5 เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคโนโลยีตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 5 และเพื่อศึกษาแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของฝ่ายเทคโนโลยีตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 5 โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคโนโลยีตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 5 โดยรวมอยู่ในระดับสูง เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านแล้ว พบว่า ขนาดขององค์การ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ การปรับตัวในการทำงาน นโยบายและการบริหารองค์การ การปกครองและความสัมพันธ์ระหว่างผู้บังคับบัญชา ความสัมพันธ์กลุ่มและองค์กร ลักษณะงานและความรับผิดชอบ วัฒนธรรมองค์การ ความมั่นคงในงาน การมีส่วนร่วมขององค์การ ความก้าวหน้าในการทำงาน การจูงใจ ความรู้ ทักษะ และความสามารถ และสภาพแวดล้อมในการทำงานและทรัพยากรที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ตามลำดับ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคโนโลยีตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 5 โดยรวมอยู่ในระดับสูง โดยเมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน พบว่า ด้านปริมาณงาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านการบรรลุวัตถุประสงค์ตามนโยบายและพันธกิจ ด้านการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงาน ด้านคุณภาพของงาน ด้านความรวดเร็วคุ้มค่าในการปฏิบัติงาน ด้านการบริหารจัดการระบบสารสนเทศสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง และด้านการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแก่หน่วยในสังกัด ตามลำดับ แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของฝ่ายเทคโนโลยีตรวจคนเข้าเมืองกองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 5 ได้แก่ 1) ด้านการบรรลุวัตถุประสงค์ตามนโยบายและพันธกิจ ควรนำหลักการบริหาร มาช่วยในการบริหารจัดการระบบสารสนเทศตรวจคนเข้าเมืองควบคู่กับการใช้กฎหมาย 2) ด้านความรวดเร็วคุ้มค่าในการปฏิบัติงาน ควรลดขั้นตอนการทำงานตามหลักลำดับขั้นลง โดยกระจายการมอบอำนาจให้แก่ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัดในสังกัดทั้งหมด 17 จังหวัด 3) ด้านการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงาน ควรนำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาช่วยในกระบวนการทำงาน 4) ด้านการบริหารจัดการระบบสารสนเทศสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง ควรจัดหาทรัพยากรบุคคล รวมถึงวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ ให้พร้อมเพรียงในทุกด้าน ควบคู่กับการนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ลดขั้นตอนในการทำงาน และส่งเสริมการให้ความรู้แก่ทรัพยากรบุคคล 5) ด้านการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแก่หน่วยในสังกัดผู้ปฏิบัติงานต้องสามารถถ่ายทอดความรู้ทางด้านการใช้งานระบบสารสนเทศตรวจคนเข้าเมืองไปยังหน่วยงานในสังกัด ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และครบถ้วน | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
มัณฑนา ประมา 641932012ลายน้ำ.pdf | 1.72 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.