Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78680
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัชดาวรรณ ชีวังกรู | - |
dc.contributor.author | จิรัชญา ไชยนันตา | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-22T01:00:37Z | - |
dc.date.available | 2023-08-22T01:00:37Z | - |
dc.date.issued | 2023-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78680 | - |
dc.description.abstract | One of Thailand's most significant commercial fruits, durian (Durio zibethinus), is very vulnerable to the illness known as soil-borne root rot. In our research, we found that the Northern Thai Durian orchards were the source of the root rot illness. Koch's postulates were used to confirm the isolate's pathogenicity. Taxonomy and phylogeny were used to identify the pathogen as Phytophthora palmivora. The wide range of biological activities of Vernonia amygdalina are well recognized, and in this work, the effectiveness of an ethyl acetate extract of dried V. amygdalina leaves against P. palmivora mycelial development was examined. Delivery of bioactive compounds by nano- or microparticles is a well-known and effective method in contemporary research. Therefore, in the current work, several electrospray settings were utilized to examine the creation of microparticles infused with V. amygdalina leaf extract. However, it has been looked into if employing crude extract-infused loaded micro-particles is more effective than using crude extract directly to inhibit V. amygdalina growth. The study's findings demonstrated that P. palmivora may inhibit its development in vitro and causes root rot on durian and ethyl acetate extract of dried V. amygdalina leaves. Additionally, crude extract-loaded microparticles are highly effective at reducing P. palmivora growth when utilized in an in vitro environment. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ประสิทธิภาพของการใช้สารสกัดหนานเฉาเหว่ยในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา Phytophthora sp. สาเหตุโรครากเน่าของทุเรียน | en_US |
dc.title.alternative | Efficacy of using vernonia amygdalina extracts on inhibiting phytophthora spp. growth, the causal agent of Durian root rot disease | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ทุเรียน -- โรคและศัตรูพืช | - |
thailis.controlvocab.thash | รากเน่า | - |
thailis.controlvocab.thash | โรคพืช | - |
thailis.controlvocab.thash | หนานเฉาเหว่ย | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ทุเรียน (Durio zibethinus) พืชเศษฐกิจที่สำคัญที่สุดชนิดหนึ่งของไทย โดยมีอัตราการส่งออกเป็นจำนวนมากต่อปี ทุเรียนมีโรคที่สำคัญคือโรครากเน่าโคนเน่าซึ่งเกิดจากเชื้อในดิน จากงานวิจัยพบว่าสวนทุเรียนในภาคเหนือเกิดปัญหาโรครากเน่าโคนเน่าเป็นจำนวนมาก และการควบคุมโรคเป็นไปได้ยาก จากการใช้ Koch's postulates สันฐานวิทยา และ phylogeny จะสามารถระบุเชื้อราก่อโรคชนิดนี้ได้ว่าเป็นเชื้อรา Phytophthora palmivora งานวิจัยนี้ได้ทำการทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบ ethyl acetate จากใบของ Vernonia amygdalina ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อรา P. palmivora พบว่า biological activities ของ V amygdalina ที่สกัดโดยใช้ ethyl acetate มีความสามารถในการยับยังการเจริญของเชื้อราก่อโรคได้ และศึกษาการนำส่งสารโดยใช้อนุภาคขนาดเล็ก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของสารสกัด โดยใช้เทคนิค electrospray จึงได้ทำการศึกษาการปรับ การละลายของพอลิเมอร์ อัตราการไหล แสไฟฟ้า ระยะห่าง และความเข้มข้นของพอลิเมอร์ซึ่งเป็นตัวแปรที่มีผลต่อขนาดของอนุภาค เพื่อให้ได้สภาวะที่เหมาะสมในการสร้างอนุภาคสารสกัดมีขนาดที่เล็กมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ อย่างไรก็ตามพบว่าในการทดสอบประสิทธิภาพการยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรครากเน่าโคนเน่า P. palmivora การใช้ อนุภาคของ สารสกัด ethyl acetate จากใบของ V amygdalina มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญมากกว่าการใช้สารสกัดหยาบเพียงอย่างเดียว ซึ่งสามารถดูได้จากค่า Effective Dose 50 ที่ลดลง | en_US |
Appears in Collections: | AGRI: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620831064 จิรัชญา ไชยนันตา.pdf | 21.43 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.