Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78668
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา คำอักษร-
dc.contributor.authorกล้าหาญ บุญจันทร์en_US
dc.date.accessioned2023-08-19T09:32:48Z-
dc.date.available2023-08-19T09:32:48Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78668-
dc.description.abstractThis independent research topic aims to 1) To study the main concepts, theories, knowledge, and important processes in good agriculture practices. And study the requirements according to the ISO 30401:2018 knowledge management system. 2) To identify critical knowledge and success factors that influence a good agricultural knowledge management system. of the Ta Haan Phandee Project at Surasak Montri Fort. 3) To develop a framework for managing knowledge management systems for good agricultural practices in the Ta Haan Phandee Project at Surasak Montri Fort according to the ISO 30401:2018 standard framework. From the preliminary information of the case study, it was found that in the Implementation of the Ta Haan Phandee Project at Surasak Montri Fort that past There is no knowledge management for the development of active duty soldiers to become well - train soldiers for good agricultural practices. systematically As a result, a knowledge that happens in the project has been lost and cannot be used again. Also, do not know the important body of knowledge ( Critical knowledge ) in the process. Knowledge management principles have developed a tool to be a "guideline" for organizations to be able to create a knowledge management system in a structured way, that is ISO 30401:2018, which is a manual for building a knowledge management system. Through all 7 activities (ISO 30401:2018, 2018), which are 1) Context of Organization 2) Leadership 3) Planning 4) Support 5) Operation 6) Performance evaluation 7) Improvement. ISO 30401:2018 is another tool that can apply and create a knowledge management system for the organization. This can be used to develop a conceptual framework and knowledge management practice manual to respond to the project goals. The results of the study in the first step showed that the requirements of the ISO 30401:2018 standard were used to develop a conceptual framework and a knowledge management manual for the Ta Haan Phandee Project at Surasak Montri fort Able to create a knowledge management system to occur within the organization This leads to continuity of knowledge management operations in response to the Royal Thai Army's policy. And able to develop target group soldiers into a well-train soldiers in Good agriculture practices according to the goals set.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleระบบจัดการความรู้สำหรับด้านปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของโครงการทหารพันธุ์ดีen_US
dc.title.alternativeKnowledge management system for the good agricultural practice of Ta-haan Phandee Project (Based on ISO 30401:2018)en_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashการเกษตร-
thailis.controlvocab.thashการบริหารองค์ความรู้-
thailis.controlvocab.thashระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractหัวข้อค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดหลัก ทฤษฎี องค์ความรู้ และกระบวนการที่สำคัญด้านการเกษตรที่ดี และศึกษาเกี่ยวกับข้อกำหนด ตามมาตรฐาน ISO 30401:2018 ระบบการจัดการความรู้ 2) เพื่อระบุความรู้และปัจจัยความสำเร็จที่สำคัญ (Critical Knowledge and Success Factors) ที่มีอิทธิพลต่อระบบการจัดการความรู้ด้านการเกษตรที่ดี ของโครงการทหารพันธุ์ดี ค่ายสุรศักดิ์มนตรี 3) เพื่อพัฒนากรอบแนวทางในการจัดการระบบการจัดการความรู้การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี โครงการทหารพันธุ์ดี ค่ายสุรศักดิ์มนตรี ตามกรอบมาตรฐาน ISO 30401:2018 จากข้อมูลเบื้องต้นของกรณีศึกษาพบว่า การดำเนินโครงการทหารพันธุ์ดี ค่ายสุรศักดิ์มนตรี ที่ผ่านมานั้น ไม่มีการจัดการความรู้การพัฒนาทหารกองประจำการสู่การเป็นทหารพันธุ์ดีด้านการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี อย่างเป็นระบบ ส่งผลให้องค์ความรู้ที่มี/เกิดขึ้น สูญหาย ไม่สามารถนำกลับมาใช้งานได้ อีกทั้งไม่ทราบถึงองค์ความรู้ที่สำคัญในการดำเนินการ หลักการจัดการความรู้ได้พัฒนาเครื่องมือเพื่อเป็น “แนวทาง” ให้องค์กรสามารถที่สร้างระบบการจัดการความรู้ได้อย่างเป็นแบบแผน นั่นคือ ISO 30401:2018 ซึ่งเป็นคู่มือในการสร้างระบบการจัดการความรู้ ผ่านกิจกรรมทั้ง 7 อย่าง (ISO 30401:2018 , 2561) ได้แก่ 1) การทบทวนบริบทขององค์กร (Context of Organization) 2) การนำ (Leadership) 3) การวางแผน (Planning) 4) การสนับสนุน (Support) 5) การปฏิบัติ (Operation) 6) การประเมิน (Performance evaluation) 7) การพัฒนาต่อยอด (Improvement) โดย ISO 30401:2018 นั้นถือเป็นอีกเครื่องมือที่สามารถจะประยุกต์และสร้างระบบการจัดการความรู้เพื่อแก่องค์กร เพื่อนำมาดำเนินการพัฒนากรอบแนวคิดและคู่มือการปฏิบัติการจัดการความรู้เพื่อตอบสนองต่อเป้าหมายของโครงการได้ ผลการศึกษาในขั้นตอนแรกพบว่าการนำข้อกำหนดตามมาตรฐาน ISO 30401:2018 มาพัฒนากรอบแนวคิดและคู่มือการจัดการความรู้โครงการทหารพันธุ์ดี ค่ายสุรศักดิ์มนตรีนั้น สามารถสร้างระบบการจัดการความรู้ให้เกิดขึ้นภายในองค์กร ก่อให้เกิดความต่อเนื่องในการดำเนินการด้านจัดการความรู้เพื่อตอบสนองต่อนโยบายของกองทัพบกไทย และสามารถพัฒนาทหารกองประจำการสู่การเป็นทหารพันธุ์ดีตามเป้าหมายที่วางไว้en_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
632132004_Glahan_Boonchan.pdf11.86 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.