Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78657
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิวพร อึ้งวัฒนา-
dc.contributor.advisorเดชา ทำดี-
dc.contributor.authorกรวิชญ์ ศรีประเสริฐen_US
dc.date.accessioned2023-08-19T08:21:58Z-
dc.date.available2023-08-19T08:21:58Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78657-
dc.description.abstractThis quasi-experimental study aimed to compare health behavior averages, before and after receiving a program, and between groups of participants, before and after, who participated in a tele-nursing-based self-management program as well as to compare health behavior averages between the groups who received tele-nursing-based self-management program or normal care at an NCDs clinic in a hospital for 8 weeks. The sample group of 50 uncontrolled diabetic people from a community was divided into 2 groups, an experimental group and a control group, with 25 participants per group. This study took place in Nathom District and Banpeang District, Nakonphanom Province, and data was collected during February to April 2023. The research tools used in this research included 1) the tele-nursing-based self-management program, developed from self-management theory (Kanfer & Garlick-Buys, 1991), and the tele-nursing protocol by the Thailand Nursing and Midwifery Council; 2) the Line official application with functions which were useful for participants, including a self-management for diabetic persons handbook on the Google platform, a video for diabetic health promotion, and a health behaviors record; and 3) a graphic info presentation for health behavior promotion in diabetic persons. The research tools used for data collection included a questionnaire on demographic data for diabetic persons and a questionnaire on health behavior for diabetic persons, with a content validity index of 0.98 and reliability of 0.80, using Cronbach’s alpha coefficient. The data were analyzed using descriptive statistics, paired t-test, and independent t-test. The study results showed that the group who received the tele-nursing-based self-management program had significantly higher average health behavior scores (x ̅=134.04, SD=10.70) than before receiving the program (x ̅=103.88, SD=8.25) and higher than the control group who received the normal NCDs clinic in the hospital (x ̅=104.96, SD=8.00) with statistical significance (p < .001). The outcomes of this study showed that a tele-nursing-based self-management program is recommended for health behavior modification. In addition, it can be used for diabetic persons who can not control blood sugar self-management guidelines, through tele-nursing and by providing more effective health care service in the community.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของโปรแกรมการจัดการตนเองผ่านการพยาบาลทางไกล ต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่มีภาวะเบาหวาน ควบคุมไม่ได้ในชุมชนen_US
dc.title.alternativeEffect of tele-nursing-based self-management program on health behaviors of persons with uncontrolled diabetes mellitus in the communityen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการพยาบาล-
thailis.controlvocab.thashบริการการพยาบาล-
thailis.controlvocab.thashผู้ป่วยเบาหวาน-
thailis.controlvocab.thashการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองผ่านการพยาบาลทางไกลก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรม และเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมสุขภาพระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองผ่านการพยาบาลทางไกลกับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ กลุ่มตัวอย่างคือผู้ที่มีภาวะเบาหวานควบคุมไม่ได้ในชุมชน จำนวน 50 ราย โดยแบ่งเป็น กลุ่มทดลอง 25 รายและกลุ่มควบคุม 25 ราย ศึกษาในพื้นที่อำเภอนาทมและอำเภอบ้านแพง จังหวัดนครพนม ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึง เมษายน พ.ศ. 2566 เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย 1) โปรแกรมการจัดการตนเองผ่านการพยาบาลทางไกล ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นจากแนวคิดการจัดการตนเองของแคนเฟอร์ และ กาลิค-บายส์ (Kanfer & Garlick-Buys, 1991) และแนวทางการพยาบาลทางไกล 2) Line Official Account ประกอบด้วย ข้อมูลความรู้ในรูปแบบของ Google Site สื่อวิดีทัศน์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และแบบบันทึกพฤติกรรมสุขภาพ และ3) สื่อนำเสนอภาพนิ่งคำแนะนำพฤติกรรมสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และแบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพ ได้ดัชนีความตรงของเนื้อหา (Content Validity Index) เท่ากับ.98 และค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) เท่ากับ .80 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา paired t-test และ independent t-test ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองผ่านการพยาบาลทางไกลเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมสุขภาพ (x ̅=134.04, SD=10.70) สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (x ̅=103.88, SD=8.25) และสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ (x ̅=104.96, SD=8.00) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) จากการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการจัดการตนเองผ่านการพยาบาลทางไกลสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางการสนับสนุนให้ผู้ที่มีภาวะเบาหวานควบคุมไม่ได้ให้เกิดการจัดการตนเองผ่านการใช้การพยาบาลทางไกล (Tele-Nursing) ในการบริการทางสุขภาพแก่คนในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesis-641231001-KORAWIT SRIPRASERT.pdf2.63 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.