Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78640
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชนินทร เพ็ญสูตร | - |
dc.contributor.author | วชิระ นันตี | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-15T00:55:10Z | - |
dc.date.available | 2023-08-15T00:55:10Z | - |
dc.date.issued | 2023-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78640 | - |
dc.description.abstract | This study aims at examining the determinants of voting behaviors in favor of the Future Forward Party and the kinds of media that affect such voting behaviors of the eligible voters in the Mueang District of Lampang Province. This is a mixed-methods research incorporating both quantitative and qualitative approaches. The study samples are 393 eligible voters, aged in the range of 18 – 29 years old and residing in 19 sub-districts of Lampang Province. Questionnaires and semi-structured interviews are used as tools for collecting information and data from the relevant key informants. The quantitative analysis is performed on the descriptive statistics including percentage, arithmetic mean, and standard deviation. The qualitative information from semi-structured interviews is summarized for descriptive presentation. The research findings reveal that the majority of the questionnaire respondents are characterized as female, aged 18 – 20, and students at the bachelor's degree level. These study samples who voted for the candidates from the Future Forward Party are the young eligible voters in the Mueang District of Lampang Province who also have easy access to various kinds of media. Most of them indicated they preferred using online channels over other kinds of media to receive political information because they generally spent 5 -10 hours per day using online media primarily Facebook. The general background and behaviors of the young eligible voters are thus considered compatible with the election campaign strategy of the Future Forward Party addressing the use of social media for political marketing purposes. The results of the study of Future Forward Party selection behavior revealed that the media influenced Future Forward Party selection behavior of voters in Mueang District, Lampang Province. Behaviors that affect voting Overall, it was at the highest level. In descending order, they are: the personal expectation the qualification of the candidates, the election campaign strategy, the relationship and the party’s policies, and the party’s image. The concept of changing the conventional political process into a modern one that exploits a multitude of diverse social media channels and platforms to enable Thai youth to keep pace with the world and participate in the political process and affairs as well as the development of political marketing contents that are diverse and different from what have done by other political parties. In essence, the political marketing and promotion by the Future Forward Party that made the party known widely can be attributable to the competency of the party leader and the use of social media; and all these create trust and become important voting behavior determinants of eligible voters to vote for this party. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | พฤติกรรมการเลือกพรรคอนาคตใหม่ | en_US |
dc.title | พฤติกรรมการเลือกพรรคอนาคตใหม่ของผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ในการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2562 | en_US |
dc.title.alternative | The Voting behavior of selecting the Future Forward Party of eligible voters in Mueang District, Lampang Province, in the 2019 general election | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร -- การเลือกตั้ง -- ลำปาง | - |
thailis.controlvocab.thash | การเลือกตั้ง -- ลำปาง | - |
thailis.controlvocab.thash | ไทย -- การเมืองและการปกครอง | - |
thailis.controlvocab.thash | พรรคอนาคตใหม่ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเลือกพรรคอนาคตใหม่ และเพื่อศึกษาการใช้สื่อที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกพรรคอนาคตใหม่ของกลุ่มผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงผสานวิธี โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวน 393 คน ที่มีอายุ 18 – 29 ปี จำนวน 19 ตำบล ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่เกี่ยวข้องวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และบรรยายสรุปการสัมภาษณ์ในเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเรื่อง พฤติกรรมการเลือกพรรคอนาคตใหม่ของผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีอายุระหว่าง 18 - 20 ปี เป็นนักศึกษาที่กำลังศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งคนส่วนใหญ่ที่เลือกพรรคอนาคตใหม่ ทั้งนี้ ในช่วงอายุกลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่สามารถเข้าถึงสื่อได้โดยง่าย และกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เลือกใช้สื่อออนไลน์ในการรับรู้ข่าวสารทางการเมืองมากกว่าสื่อประเภทอื่น เฉลี่ยวันละ 5 -10 ชั่วโมง โดยใช้เฟซบุ๊กมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดทางเมืองผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของพรรคอนาคตใหม่ ผลการศึกษาพฤติกรรมการเลือกพรรคอนาคตใหม่ พบว่า สื่อมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเลือกพรรคอนาคตใหม่ของผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง พฤติกรรมที่มีผลต่อการลงคะแนนเสียง ภาพโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านความคาดหวังตัวบุคคล ด้านคุณสมบัติส่วนบุคคลของผู้สมัคร ด้านกลยุทธ์ในการหาเสียง ด้านความสัมพันธ์ ด้านนโยบายพรรคและภาพลักษณ์ของพรรค ตามลำดับ ด้วยแนวคิดในการเปลี่ยนการเมืองแบบเดิมให้กลายเป็นการเมืองรูปแบบใหม่จากฐานสื่อโซเชียลมีเดียหลากหลายช่องทาง เพื่อให้ทันต่อโลกในปัจจุบันทำให้กลุ่มเยาวชนได้มีส่วนร่วมในการเมือง จากการได้รับรู้นโยบายแนวคิดและการโปรโมทผ่านสื่อในรูปแบบต่าง ๆ รวมถึงกระแสการทำคอนเทนต์ที่แตกต่าง และหลากหลายกว่าพรรคอื่น ๆ จึงทำให้การตลาดหรือการโปรโมทของพรรคอนาคตใหม่เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายด้วยศักยภาพของผู้นำพรรคและกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดทางเมืองผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของพรรคอนาคตใหม่ ดังกล่าว จึงสร้างความเชื่อมั่นและเป็นปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกพรรคพรรคอนาคตใหม่ของประชาชน | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611932042 ว่าที่ร้อยตรีวชิระ นันตี.pdf | 611932042 ว่าที่ร้อยตรีวชิระ นันตี | 3.54 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.