Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78628
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เสรี ใหม่จันทร | - |
dc.contributor.author | ชฎาวรรณ ชัยน่าน | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-08-09T00:35:09Z | - |
dc.date.available | 2023-08-09T00:35:09Z | - |
dc.date.issued | 2022-02 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78628 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research was to study the rehabilitation process of people who had suffered from a fatal accident, lost their organs, and became disabled. This research utilized a qualitative case study research methodology. The main informant groups consisted of four people who had suffered from a fatal accident, lost their organs, became type 3 disabled (a mobility impairment), and had been injured for at least one year and five months. The data were collected by using in-depth interviews along with the application of semi-structured questions. Collected data were verified by utilizing a triangular data validation method and were analyzed by using a content analysis method. The results indicated that the four informants revealed the qualitative data regarding the process of recovery after encountering a fatal accident, dismemberment, and became persons with disabilities. The data consisted of 4 aspects: the causes of stress, the fragility factor, the preventive factor, and the rehabilitation. The researcher had explained the process through three main theories: the theory of persons with disabilities, the theory of loss and mourning, and the theory of rehabilitation. In addition, the researcher had found something new about the recovery process, which was the adaptation after becoming disabled and the feeling of alienation towards society. Based on the results of this study, the researcher discussed the results by using the recovery model of integrity with the understanding of the positive growth after becoming disabled along with the interpretation from the researcher's point of view. It suggested that each key informant had a different background before encountering a fatal accident and became disabled. However, a shared experience had been established among each of them through the accident and acted as a guide leading them to overcome the crisis. The story of the key informants may be an inspiration and an encouragement to those who are facing hardship to have the strength to continue living. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การฟื้นพลังของบุคคลทุพพลภาพหลังจากประสบอุบัติเหตุขั้นรุนแรงและสูญเสียอวัยวะ | en_US |
dc.title.alternative | Resilience among disabled persons after a severe accident and organ loss | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ความพิการ | - |
thailis.controlvocab.thash | การเคลื่อนไหวผิดปกติ | - |
thailis.controlvocab.thash | อุบัติเหตุ | - |
thailis.controlvocab.thash | ผู้ประสบอุบัติเหตุ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการฟื้นพลังของบุคคลที่ประสบอุบัติเหตุขั้นรุนแรงและสูญเสียอวัยวะจนกลายเป็นบุคคลทุพพลภาพ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้ที่ประสบอุบัติเหตุขั้นรุนแรงและสูญเสียอวัยวะจนกลายเป็นบุคคลทุพพลภาพประเภทที่ 3 ความพิการทางการเคลื่อนไหว ซึ่งได้รับบาดเจ็บเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 1 ปี 5 เดือน จำนวน 4 คน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก ประกอบการสัมภาษณ์ซึ่งใช้คำถามแบบกึ่งมีโครงสร้าง มีการตรวจสอบข้อมูลโดยใช้วิธีการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า และการวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า ผู้ให้ข้อมูลหลักทั้ง 4 ท่านเผยให้เห็นข้อมูลเชิงคุณภาพ เกี่ยวกับกระบวนการฟื้นพลังหลังการประสบอุบัติเหตุขั้นรุนแรงและสูญเสียอวัยวะ จนกลายเป็นบุคคลทุพพลภาพประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ สาเหตุแห่งความเครียด ปัจจัยของการเปราะบาง ปัจจัยเชิงป้องกัน และการฟื้นพลัง ทั้งนี้ผู้วิจัยได้อธิบายกระบวนการดังกล่าวผ่าน 3 ทฤษฎีหลัก คือ ทฤษฎีเกี่ยวกับผู้พิการหรือบุคคลทุพลภาพ ทฤษฎีเกี่ยวกับความสูญเสียและโศกเศร้า และทฤษฎีเกี่ยวกับการฟื้นพลัง นอกจากนี้ ผู้วิจัยยังได้ข้อค้นพบใหม่เพิ่มเติมเกี่ยวกับกระบวนการฟื้นพลัง คือ การปรับตัวหลังได้รับความทุพลภาพและความรู้สึกแปลกแยกต่อตัวตนจากสังคม จากผลการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้อภิปรายผล โดยใช้แบบจำลองการฟื้นพลังของบูรณาการกับแบบจำลองเพื่อความเข้าใจการเติบโตเชิงบวกหลังได้รับความพิการ ร่วมกับการตีความจากมุมมองของผู้วิจัยดังนั้น ข้อสรุปว่าผู้ให้ข้อมูลหลักแต่ละท่านมีเรื่องราวเบื้องหลังก่อนการประสบอุบัติเหตุขั้นรุนแรงและสูญเสียอวัยวะจนกลายเป็นบุคคลทุพพลภาพที่แตกต่างกัน แต่แล้วการประสบอุบัติเหตุอันนำพาให้แต่ละบุคคลมีประสบการณ์ร่วมกันในการข้ามผ่านภาวะวิกฤติ ซึ่งเรื่องราวของผู้ให้ข้อมูลหลักอาจสร้างแรงผลักดันและกำลังใจให้ผู้ที่กำลังประสบกับภาวะวิกฤติให้มีพลังใจในการดำเนินชีวิตต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610132010 ชฎาวรรณ ชัยน่าน.pdf | 6.21 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.