Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78623
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTeeraporn Saeheaw-
dc.contributor.authorMa, Xinranen_US
dc.date.accessioned2023-08-08T01:00:47Z-
dc.date.available2023-08-08T01:00:47Z-
dc.date.issued2022-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78623-
dc.description.abstractMany experts in Kunming Oxygen Company are approaching the retirement age. According to this situation, experts will take away the organization's core knowledge which results in knowledge loss. In order to prevent Kunming Oxygen Company knowledge loss, this study proposes knowledge repository to keep experts’ core knowledge as well as new engineers can access and retrieve those core knowledge to work easily. Objectives are i) to identify the critical situation of Oxygen Company; and ii) to promote new engineers’ problem-solving knowledge and quality of work after using knowledge-based system in gas system maintenance. Research samples are 8 new engineers whose working experience are less than one year. Knowledge engineering, CoPs, and AAR are utilized to create knowledge repository and deliver to knowledge to samples. Knowledge engineering methods which are selected to identify Kunming Oxygen Company problem situation consist of i) interview; ii) observation; and iii) critical path analysis. Firstly, interview is used to explore the current situation of Kunming Oxygen Company knowledge loss from senior managers. Then, observation method is used to record work errors of new engineers for one month. Raw data from interview and observation are analyzed by using content analysis and drawing out the business process. Next, the critical path analysis is used to analyze the critical area in business process which cause knowledge loss in Kunming Oxygen Company. From critical path analysis, the result shows that the critical knowledge is Domain B (Failure maintenance of gas supply system). To retain knowledge loss, CoPs are introduced with purpose to invite experts for sharing experiences of those error cases. During sharing, experts’ experiences are captured, tacit knowledge is extracted and converted into explicit knowledge, and later stored into online knowledge based system. Offline meeting activities is the space to cross check knowledge growth nodes among engineers’ community. Finally, AAR is used as self-reflection in dimension of problem-solving knowledge and quality of work for new engineers The results show that 100% of the samples have improved professional skills after using the knowledge repository for a period of time, 37.5% of the samples feel substantial increase, they can be able to solve problems independently, 62.5% of the samples feel professional skills basic increase, they access to knowledge repository can solve most problems. The knowledge repository can effectively retain expert knowledge and improve the professional ability of new engineers.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleCase-based repository to enhance problem solving knowledge in gas supply systemen_US
dc.title.alternativeคลังฐานกรณีเพื่อเพิ่มความรู้การแก้ไขปัญหาระบบการจ่ายแก๊สen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.lcshGas-
thailis.controlvocab.lcshKunming Oxygen Company-
thailis.controlvocab.lcshCommunities of practice-
thailis.controlvocab.lcshKnowledge Management-
thailis.controlvocab.lcshOrganizational learning -- China-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractผู้เชี่ยวชาญหลายคนใน บริษัท คุนหมิงออกซิเจน กำลังเข้าสู่วัยเกษียณจากสถานการณ์ดังกล่าว ผู้เชี่ยวชาญจะนำองค์ความรู้หลักขององค์กรออกไป ส่งผลให้ความรู้ภายในองค์กรสูญหาย และเพื่อเป็นการป้องกันการสูญเสียความรู้หลักของ บริษัท คุนหมิงออกซิเจน งานวิจัยชิ้นนี้ เสนอระบบฐานความรู้เพื่อเก็บรวบรวมความรู้หลักของผู้เชี่ยวชาญ รวมถึงวิศวกรใหม่ให้สามารถเข้าถึงและดึงความรู้หลักเหล่านั้น เพื่อการทำงานได้อย่างง่ายขึ้น วัตถุประสงค์ประกอบด้วย 1. เพื่อระบุสถานการณ์วิกฤตของบริษัทออกซิเจน และ 2.เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการทำงานของวิศวกรใหม่และคุณภาพการทำงานหลังใช้ระบบฐานความรู้ในการบำรุงรักษาระบบแก๊ส กลุ่มเป้าหมายในงานวิจัย คือ วิศวกรใหม่ 8 คน ที่มีประสบการณ์การทำงานน้อยกว่าหนึ่งปี วิศวกรรมความรู้ ชุมชนนักปฏิบัติ และการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน ถูกนำมาใช้ในการสร้างระบบฐานความรู้ และส่งต่อความรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมาย วิธีการทางวิศวกรรมความรู้ที่ถูกเลือกสำหรับวิเคราะห์ปัญหา บริษัท คุนหมิงออกซิเจน ประกอบด้วย 1. การสัมภาษณ์ 2. การสังเกต และ 3. การหาเส้นทางวิกฤต อันดับแรก การสัมภาษณ์ถูกนำมาใช้เพื่อสำรวจสถานการณ์การสูญเสียความรู้ภายในบริษัท คุนหมิงออกซิเจน ฌ ปัจจุบัน จากผู้จัดการอาวุโส จากนั้น วิธีการสังเกตถูกนำมาใช้บันทึกข้อผิดพลาดในการทำงานของวิศวกรใหม่เป็นระยะเวลา 1 เดือน ข้อมูลดิบที่ได้จากการสัมภาษณ์และการสังเกต ถูกวิเคราะห์โดขใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและวาดออกมาในรูปแบบกระบวนการทางธุรกิจต่อมา การหาเส้นทางวิกฤตนำมาใช้ในการวิเคราะห์ส่วนสำคัญในกระบวนการทางธุรกิจที่ส่งผลให้สูญเสียความรู้ใน บริษัท คุนหมิงออกซิเจน ผลจากการวิเคราะห์เส้นทางวิกฤตพบว่า องค์ความรู้ที่สำคัญคือ หัวข้อความรู้ B (ความผิดพลาดในการบำรุงรักษาระบบจ่ายก๊าช) เพื่อรักษาความรู้ที่สูญหายชุมชนนักปฏิบัติถูกนำมาใช้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเชิญผู้เชี่ยวชาญมาแบ่งปันประสบการณ์เกี่ยวกับกรณีข้อผิดพลาดเหล่านั้น ในระหว่างการแบ่งปัน ประสบการณ์ของผู้เชี่ยวชาญจะถูกรวบรวม ความรู้ ฝังลึกถูกสกัดและเปลี่ยนเป็นความรู้ชัดแจ้ง และจัดเก็บลงในระบบฐานความรู้ออนไลน์ กิจกรรมการประชุมแบบออฟไลน์เป็นพื้นที่สำหรับตรวจสอบการเติบโตของความรู้ระหว่างชุมชนวิศวกร สุดท้ายใช้การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน เป็นตัวสะท้อนในมิติประสิทธิภาพและคุณภาพงานของวิศวกรใหม่ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่าง 100% มีการพัฒนาทักษะวิชาชีพหลังจากใช้ฐานความรู้มาระยะหนึ่ง กลุ่มตัวอย่าง 37.5% รู้สึกว่าตนเองดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด พวกเขาสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง กลุ่มตัวอย่าง 62.5% รู้สึกว่าทักษะทางวิชาชีพของพวกเขาได้รับการปรับปรุง และพวกเขาสามารถเข้าถึงฐานความรู้สามารถแก้ปัญหาส่วนใหญ่ได้ ฐานความรู้สามารถรักษาความรู้ของผู้เชี่ยวชาญและปรับปรุงความสามารถทางวิชาชีพของวิศวกรใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
602132027 Xinran Ma.pdf4.3 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.