Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78612
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรภัทร วรรณฤมล-
dc.contributor.authorภูริทัต สังประกุลen_US
dc.date.accessioned2023-08-04T01:32:59Z-
dc.date.available2023-08-04T01:32:59Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78612-
dc.description.abstractThis study is the Qualitative Research to acknowledge strategies of the integrated marketing communication of Marvel Studios Company Limited through an exclusive interview and data collection on papers and other method relevant. The main population subjects are the eight movies produced by Marvel Studios Company Limited which have made the massive income of more than one billion US dollars since 2008 –2019 which are The Avengers (2012), Iron Man 3 (2013), Avengers: Age of Ultron (2015), Captain America: Civil War (2016), Black Panther (2018), Avengers: Infinity War (2018), Captain Marvel (2019) and Avengers: Endgame (2019). The target samples are influential personals about movies on social media and the experts in the field of film marketing businesses. The social media platforms used in this study are Youtube, Website, Twitter, Instagram and advertising signs. However, the sample movies were classified into two types; the solo hero type and the united team type. These two types mostly used similar integrated marketing communicative strategies, but only some used different ones. The study found that the movies of Marvel Studios Ltd. divide their integrated marketing communicative strategies into three periods which were pre-theatrical release, during-theatrical release and post-theatrical release. Advertising and news promoting via online and offline channels (Omni Channels) are the emphasized strategies in order to convince people to get interested in the movies. The main purpose of these methods are to promote product sales, thoughts and continual participation of the audiences so that they can create awareness of the target audiences and make them the brand loyalists.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการของบริษัทมาร์เวลสตูดิโอส์ จำกัดen_US
dc.title.alternativeAnalysis of an integrated marketing communication strategy of Marvel Studios Co., Ltd.en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashบริษัทมาร์เวลสตูดิโอส์ จำกัด-
thailis.controlvocab.thashการสื่อสารทางการตลาด-
thailis.controlvocab.thashการตลาด-
thailis.controlvocab.thashโฆษณา-
thailis.controlvocab.thashภาพยนตร์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อให้ทราบถึงกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการของบริษัทมาร์เวลสตูดิโอส์ จำกัด ผ่านการสัมภาษณ์เชิงลึก และการเก็บข้อมูลในเชิงเอกสารและอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีประชากรเป็นภาพยนตร์ที่ผลิตโดยบริษัทมาร์เวลสตูดิโอส์ จำกัด ตั้งแต่ ปี ค.ศ. 2008 - 2019 ที่ทำรายได้เกิน 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐ จำนวน 8 เรื่อง ได้แก่ The Avengers (2012), Iron Man 3 (2013), Avengers: Age of Ultron (2015), Captain America: Civil War (2016), Black Panther (2018), Avengers: Infinity War (2018), Captain Marvel (2019) และ Avengers: Endgame (2019) ซึ่งมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้มีอิทธิพลบนสื่อสังคมออนไลน์ในด้านภาพยนตร์และผู้เชี่ยวชาญด้านการตลาดในธุรกิจภาพยนตร์ ประเภทของสื่อที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ Facebook, Youtube, Website, Twitter, Instagram ละป้ายโฆษณา โดยที่ภาพยนตร์จากกลุ่มตัวอย่างจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ ภาพยนตร์เดี่ยว และภาพยนตร์รวมทีม ซึ่งทั้งสองกลุ่มนี้จะมีการใช้กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการที่มีความคล้ายคลึงกัน แต่จะมีเพียงภาพยนตร์บางเรื่องเท่านั้นที่มีการใช้กลยุทธ์ที่แตกต่างออกไป จากผลการศึกษาพบว่า ภาพยนตร์บริษัทมาร์เวลสตูดิโอส์ จำกัด ได้แบ่งกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการออกเป็น 3 ช่วงเวลา ได้แก่ ก่อนภาพยนตร์เข้าฉาย, ระหว่างภาพยนตร์เข้าฉาย และหลังภาพยนตร์เข้าฉาย โดยเครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการนั้นจะเน้นไปที่การโฆษณา และการประชาสัมพันธ์และการเผยแพร่ข่าว ผ่านช่องทางออนไลน์และออฟไลน์ หรือที่เรียกว่า Omni Chanel เพื่อชักจูงให้ผู้คนเกิดความสนใจในภาพยนตร์ โดยวัตถุประสงค์ก็เพื่อเป็นการส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์ ความคิด และการมีส่วนร่วมของผู้ชมอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างการตระหนักรู้ของกลุ่มผู้ชมเป้าหมายเพื่อให้เกิดความภักดีในตราสินค้าen_US
Appears in Collections:MASSCOMM: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621832011 ภูริทัต สังประกุล.pdf7.87 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.