Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78572
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญพิชชา จิตต์ภักดี-
dc.contributor.advisorสมใจ ศิระกมล-
dc.contributor.authorนภาพร ติคำen_US
dc.date.accessioned2023-07-24T14:04:31Z-
dc.date.available2023-07-24T14:04:31Z-
dc.date.issued2021-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78572-
dc.description.abstractThe ethical climate is an organizational situation related to patient care which is related to ethics. The purposes of this study were to study the ethical climate as perceived by nurses and to make recommendations for enhancing the ethical climate for nurses at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. The study samples consisted of 319 staff nurses. The instrument was a questionnaire which was modified from Sukanya Chomsrisawad's questionnaire (2010) which, in turn, had been translated to Thai by the back-translation method, from Olson's (1995) Hospital Ethical Climate Survey (HECS). The content validity index and the reliability of the questionnaire were 0.88 and 0.95, respectively. The statistics used for data analysis were mean, standard deviation, and percentage. The results of the study revealed that:1. The overall score for ethical climate as perceived by nurses was at a high level (X = 4.15, SD = 0.46). As for each dimension, it was found that the mean score of the dimensions of peers, patients, managers, hospital, and physicians were at high levels (X = 4.35 + 0.52, 4.15 +0.46, 4.19 +0.50, 4.07 + 0.55 and 3.91 + 0.67, respectively). 2. The recommendations for enhancing the ethical climate regarding nurses' opinions for the 5 dimensions were as follows: 2.1 Peer dimension: Peers should 1) provide care using patient-centered care; and 2) have good interactions with each other, respect opinions, support and respect each other and communicate clearly with courtesy. 2.2 Patient dimension: Nurses should 1) confidently provide information, care and accurate nursing treatment; and 2) have good relationships with patients, provide time and opportunities for them to explain their needs, and ask about doubts regarding treatment and nursing care.2.3 Manager dimension: Managers should 1) adhere to the principles of good govemance while governing subordinates; 2) do performance appraisal with justice, give true feedback on the results of performance appraisal and show an appreciation or give rewards for nurses who have good performance; 3) have channels for listening to opinions and problems, as well as help nurses all the time; 4) provide clear solutions that do not unnecessarily increase workload; and 5) suggest ethical practice guidelines according to the hospital's policy and operation process to nurses. 2.4 Hospital dimension: The hospital should 1) specify the hospital's ethical policies which have clear standards and are consistent with work; and 2) arrange activities to promote good relationships between nurses and physicians in order to create unity and familiarity with each other. 2.5 Physician dimension: Physicians should provide information about treatment plans to the nursing team for cooperation in patient care. Nursing executives can use the results of this study as basic data for enhancing the ethical climate of nurses.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleบรรยากาศจริยธรรมตามการรับรู้ของพยาบาลโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEthical climate as perceived by nurses, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashผู้ป่วย -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashจริยธรรมในการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashพยาบาล -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractบรรยากาศจริยธรรม เป็นสภาวการณ์ขององค์การและการปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยที่มีความ เกี่ยวข้องกับจริยธรรม การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบรรยากาศจริยธรรมตามการรับรู้ของ พยาบาล และเพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับวิธีการในการเสริมสร้างบรรยากาศจริยธรรมของพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ พยาบาลระดับปฏิบัติการ จำนวน 319 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามที่ผู้ศึกษาได้ปรับปรุงจากแบบสอบถาม บรรยากาศจริยธรรมของ สุกัญญา ชมศรีสวัสดิ์ (2553) ที่แปลเป็นภาษไทยโดยวิธีการแปลย้อนกลับ จากสำรวจบรรยากาศจริยธรรมในโรงพยาบาล (Hospital Ethical Climate Survey: HECS) ของ ออลสั่น (Olson, 1995) หาค่าความตรงตามเนื้อหาและค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.88 และ 0.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉสี่ย ส่วนเปี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1.บรรยากาศจริยธรรมตามการรับรู้ของพยาบาลโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ โดยรวมอยู่ในระดับสูง (X = 4.15, SD = 0.46) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านเพื่อนร่วมงาน ด้านผู้บริหารการพยาบาล ด้านผู้ป่วย ด้านโรงพยาบาล และด้านแพทย์ อยู่ในระดับสูงทุกด้าน (X = 4.35 0.52, 4.15 = 0.46, 4.19 士 0.50, 4.07 = 0.55 และ 3.91 = 0.67 ตามลำดับ) 2. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับวิธีการเสริมสร้างบรรยากาศจริยธรรมตามความคิดเห็นของพยาบาลทั้ง 5 ด้านสรุปได้ดังนี้ 2.1 ด้านเพื่อนร่วมงาน ได้แก่ เพื่อนร่วมงานควร 1 ให้การดูแลผู้ป่วยร่วมกัน โดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง และ 2) มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน เคารพในการแสดงความคิดเห็น สนับสนุนและให้ เกียรติซึ่งกันและกัน ตลอดจนติดต่อสื่อสารกันอย่างชัดเจน ด้วยความสุภาพ 2.2 ด้านผู้ป่วย ได้แก่ พยาบาลควร 1) มีความมั่นใจการให้ข้อมูล การดูแล และการ รักษาพยาบาลที่ถูกต้อง และ 2) สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วย ให้เวลาและเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้บอก ถึงความต้องการและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล 2.3 ด้านผู้บริหาร ได้แก่ ผู้บริหารการพยาบาลควร 1) ยึดหลักธรรมาภิบาลในการปกครองผู้ใด้บังคับบัญชา 2) ทำการประเมินผลการปฏิบัติงานด้วยความยุติธรรม และแจ้งผลการประเมินการ ปฏิบัติงานตามความเป็นจริง และแสดงความชื่นชมหรือให้รางวัลแก่พยาบาลเมื่อทำความดี 3) มีช่องทาง ในการรับฟังความคิดเห็นและปัญหาตลอดจนคอยช่วยเหลือแก่พยาบาลตลอดเวลา 4) มีแนวทางแก้ไข ปัญหาที่ชัดเจนที่ไม่เป็นการเพิ่มการะงานโดยไม่จำเป็น และ 5) แนะนำแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับ จริยธรรมแก่บุคลากรพยาบาลให้ตรงตามนโขบายและกระบวนการดำเนินงานของโรงพยาบาล 2.4 ด้านโรงพยาบาล ได้แก่โรงพยาบาลควร 1 มีการกำหนดนโยบายด้านจริยธรรม ที่เป็นมาตรฐานในการปฏิบัติอย่างชัดเจน และสอดคล้องกับการทำงาน และ 2) จัดให้มีกิจกรรม ส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีระหว่างพยาบาลกับแพทย์ เพื่อสร้างความสามัคคีและความคุ้นเคยต่อกัน 2.5 ด้านแพทย์ ได้แก่ แพทย์ควรให้ข้อมูลแผนการรักษาแก่ทีมพยาบาล เพื่อสร้างความ ร่วมมือในการดูแลผู้ป่วยผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำผลการศึกษาครั้งนี้ ไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการ เสริมสร้างบรรยากาศจริยธรรมของพยาบาลได้en_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611231045 นภาพร ติคำ.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.