Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78558
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชดาวรรณ ชีวังกูร-
dc.contributor.advisorพัชรินทร์ ครุฑเมือง-
dc.contributor.authorปาริชาต ภักดีนิติen_US
dc.date.accessioned2023-07-22T14:13:23Z-
dc.date.available2023-07-22T14:13:23Z-
dc.date.issued2021-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78558-
dc.description.abstractThis research investigated the biological control of ring spot disease of Brassicales caused by Alternaria brassicicola, which is agriculturally important pathogen using antagonistic yeasts. One hundred fifteen epiphytic yeasts were isolated from 38 fruits and vegetable leaves. The antagonistic effect of yeasts was tested by dual culture method. Twenty-nine yeast isolates were tested for the inhibitory activity of A. brassicicola. The result shows three isolates of antagonistic yeasts: Y107, Y123 and Y16 with higher growth inhibitory percentages of 75.00%, 73.52% and 70.33%, respectively. Hence, isolates: Y107, Y123 and Y16 were tested for the efficacy of A. brassicicola spore germination inhibition using slide culture technique. After 12 h., Y107, Y123 and Y16 inhibited the spore germination by 90.26%, 87.82% and 80.90% respectively. Efficacy of the antagonistic effect of yeast against leaf spots on Pak Choi and Cabbage seedling was tested in greenhouse. Antagonistic yeast isolate Y107 significantly reduced the disease incidence by 71.42% (Pak Choi) and 72.75% (Cabbage seedling). The efficacy of Y123 and Y16 were not significant with disease inhibition of 69.83% and 68.92% respectively in Pak Choi and 66.67% and 66.08% respectively in Cabbage seedlings. Moreover, the phylogenetic analysis shows the relatedness of three antagonistic yeast isolates. The isolates were identified using analysis of the D1/D2 domain of the large subunit ribosomal RNA gene (LSU rRNA gene) and they were identified as Hanseniaspora thailandica (Y107) and Kurtzmaniella quercitrusa (Y16 and Y123).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการควบคุมโรคใบจุดวงแหวนในพืชวงศ์ผักกาดโดยใช้ยีสต์ปฏิปักษ์en_US
dc.title.alternativeControlling Ring Spot Disease of Brassicales Using Antagonistic Yeastsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโรคพืช-
thailis.controlvocab.thashยีสต์-
thailis.controlvocab.thashเชื้อรา -- สปอร์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือก และทดสอบประสิทธิภาพของยีสต์ปฏิปักษ์ในการ ควบคุมโรคจุดวงแหวนของพืชวงศ์ผักกาด ที่มีสาเหตุเกิดจากรา Alternaria brassicicola ซึ่งเป็นโรคที่ สำคัญพืชวงศ์ผักกาด โดยทำการแยกเลี้ยงยีสต์จากผิวของพืชที่ไม่แสดงอาการของโรค จำนวน 38 ชนิด ซึ่งสามารถแยกยีสต์ จำนวน 115 ไอโซเลท จากนั้นทำการคัดเลือกยีสต์ที่แสดงปฏิกิริยาการเป็น ปฏิปักษ์กับการเจริญเติบโตของเส้นใยของรา A. brassicicola ด้วยวิธี dual culture พบว่า ยีสต์จำนวน 29 ไอโซเลท มีแนวโน้มส่งผลให้ใคโลนีรา A. brassicicola มีขนาดเล็กลง เมื่อเปรียบเทียบกับชุด ควบคุม จึงได้คัดเลือกยีสต์ทั้ง 29 ไอโซเลท มาทำการทดสอบประสิทธิภาพการยับยั้งการเจริญของรา A. brassicicola อีกครั้ง พบว่า ยีสต์ไอโซเลท Y107, Y123 และ Y16 มีเปอร์เซ็นต์การยับยั้งการเจริญ ของรา A. brassicicola ได้ดีที่สุดคือ 75.00 , 73.52 และ 70.33 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ดังนั้นจึงคัดเลือก ยีสต์ทั้ง 3 ไอโซเลทมาทำการทดสอบประสิทธิภาพในการยับยั้งการงอกของสปอร์ของรา A. brassicicola ด้วยวิธี slide culure หลังการเลี้ยงเชื้อร่วมกันเป็นเวลา 12 ชั่วโมง พบว่า ยีสต์ไอโซเลท Y107 มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการงอกของสปอร์ได้ดีที่สุดคือ 90.26 เปอร์เซ็นต์ รองลงมา คือ Y123 และ Y 16 โดยมีเปอร์เซ็นต์การยับยั้งการงอกของสปอร์ 87.80 และ 80.90 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ จากนั้น ทำการทดสอบประสิทธิภาพในการควบคุมโรคใบจุดของผักกาดฮ่องเต้ และต้นกล้าของกะหล่ำปลีใน สภาพโรงเรือน พบว่า ยีสต์ไอโซเลท Y107 สามารถควบคุมโรคได้ดีที่สุด เท่ากับ 71.42 เปอร์เซ็นต์ (ผักกาดฮ่องเต้) และ 72.75 เปอร์เซ็นต์ (ต้นกล้าของกะหล่ำปลี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ รองลงมา คือ ยีสต์ไอโซเลท Y 123 และ Y 16 โดยมีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคไม่แตกต่าง คือ 69.83 และ 68.92 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ในผักกาดฮ่องเต้ 66.67 และ 66.08 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ในต้นกล้าของ กะหล่ำปลี จากการจัดจำแนกและระบุชนิดของยีสต์ปฏิปักษ์ทั้ง 3 ไอโซเลท โดยใช้เทคนิคด้าน อณูวิทยาในการวิเคราะห์ลำดับนิวคลิโอไทด์ในตำแหน่ง D1/D2 ของยืน Large subunit ribosomal RNA (LSU rRNA) พบว่า ยีสต์ปฏิปักษ์ไอโซเลท Y107 คือ Hanseniaspora thailandica และไอโซเลท Y16 และ Y123 คือ Kurtzmaniella quercitrusaen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610831039 ปาริชาต ภักดีนิติ.pdf3.38 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.