Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78552
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSuparat Wangsrikhun-
dc.contributor.advisorChanchai Yothayai-
dc.contributor.authorYang, Dixiaoen_US
dc.date.accessioned2023-07-22T08:52:42Z-
dc.date.available2023-07-22T08:52:42Z-
dc.date.issued2023-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78552-
dc.description.abstractEmergency nurses play significant roles in COVID-19 management. Assessment of knowledge, attitudes, and practices among emergency nurses will provide basis information for enhancing the quality of COVID-19 management in emergency departments. This descriptive correlational research aimed to explore emergency nurses’ knowledge, attitudes, and practices (KAP) regarding COVID-19 management, and their relationships. The Knowledge-Attitude-Practice (KAP) Model (Schwartz, 1976) and the literature review were used as the study framework. The survey was conducted online with 308 emergency nurses working in hospitals in Chengdu, China. Research instruments were the Demographic Data Form and the KAP Questionnaire developed by the researchers based on the Chinese Infection Prevention and Control Technical Guide in Health Care Settings (third edition) and the literature review. The KAP Questionnaire was checked for content validity by six experts, yielding an item-objective congruence score from 0.67-1. Its reliability test yielded a Cronbach’s alpha of 0.70, 0.72, and 0.77, respectively. Descriptive statistics and Pearson’s correlation were used for data analysis. The results revealed that: 1. The participants had a good level of knowledge regarding COVID-19 management (mean 16.30, SD 1.53); 2. The participants had a positive attitude towards COVID-19 management (mean 3.57, SD 0.40); 3. The participants had good practice regarding COVID-19 management (mean 4.76, SD 0.33); 4. There were statistically significant weak positive correlations between knowledge and attitudes (r = 0.18, p < 0.01), and attitudes and practices (r = 0.33, p < 0.001). There was also a weak positive correlation between knowledge and practice (r = 0.11), but it was not statistically significant. These findings could be used as basis information for further strengthening COVID-19 management among emergency nurses in China.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleKnowledge, attitudes, and practices regarding COVID-19 management of emergency nurses in Chengdu, the people’s republic of Chinaen_US
dc.title.alternativeความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการโควิด-19 ของพยาบาลฉุกเฉินในเฉิงตู สาธารณรัฐประชาชนจีนen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshCOVID-19 (Disease)-
thailis.controlvocab.lcshCOVID-19 (Disease) -- Nursing-
thailis.controlvocab.lcshNurses -- China-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractพยาบาลหน่วยตรวจฉุกเฉินมีบทบาทสำคัญในการจัดการโควิด-19 การประเมินความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติของพยาบาลหน่วยตรวจฉุกเฉินจะทำให้ได้ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนาคุณภาพ การจัดการโควิด-19 ในหน่วยตรวจฉุกเฉิน การวิจัยเชิงพรรณนาเพื่อหาความสัมพันธ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการโควิด-19 ของพยาบาลหน่วยตรวจฉุกเฉิน และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทั้งสาม โดยใช้รูปแบบความรู้-ทัศนคติ-การปฏิบัติ (Schwartz, 1976) และการทบทวนวรรณกรรมเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา ทำการสำรวจออนไลน์กับพยาบาลหน่วยตรวจฉุกเฉินที่ทำงานในโรงพยาบาล เมืองเฉิงตู สาธารณรัฐประชาชนจีน จำนวน 308 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป และแบบสอบถามความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติที่พัฒนาโดยผู้วิจัยจากแนวทางการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในสถานบริการสุขภาพของประเทศจีน ฉบับที่ 3 และการทบทวนวรรณกรรม ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 6 คน ได้ค่า IOC รายข้อ 0.67-1.00 ตรวจสอบความเชื่อมั่นได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.70, 0.72 และ 0.77 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการโควิด-19 ในระดับที่ดี (ค่าเฉลี่ย 16.30, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.53) 2. กลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติด้านบวกเกี่ยวกับการจัดการโควิด-19 (ค่าเฉลี่ย 3.57, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.40) 3. กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการโควิด-19 ที่ดี (ค่าเฉลี่ย 4.76, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.33) 4. ความรู้และการปฏิบัติ (r=0.18, p < 0.01) และทัศนคติกับการปฏิบัติ (r=0.33, p < 0.001) มีความสัมพันธ์กันระดับต่ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้งนี้ความรู้และการปฏิบัติมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำ (r=0.11) แต่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยสามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนาการจัดการโควิด-19 ของพยาบาลฉุกเฉินประเทศจีนต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631235805 DIXIAO YANG.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.