Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78528
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWeenun Bundithya-
dc.contributor.advisorNuttha Potapohn-
dc.contributor.advisorChantalak Tiyayon-
dc.contributor.authorWicharuj Tongkhamen_US
dc.date.accessioned2023-07-21T10:01:55Z-
dc.date.available2023-07-21T10:01:55Z-
dc.date.issued2021-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78528-
dc.description.abstractMorphology and flowering period of 50 Paphiopedilum species representing 7 subgenera and 1 section were identified. Each group had unique character attribution among subgenera as follows. Brachypetalum had mottled green leaf color, single flower and rounded-elliptic petal. Cochlopetalum had green leaf color, gradually bloom one flower a month, short petal and twist and flowering all of the year. Paphiopedilum had green leaf color, single flower and petal with oblong shape. Parvisepalum had mottled green leaf color, single flower, rounded-elliptic petal, lip ovate to large rounded. Polyantha had green leaf color, inflorescence flower, linear long petal and twist. Sigmatopetalum had mottled green leaf color, single flower, petal with oblong shape and wide dorsal sepal. Megastaminodium had small plant size with mottled green leaf color, single flower, wide and flat staminode, linear petal and twist. Laosianum had small plant size with mottled green leaf color, single flower, very large flower size when compared with plant size and light purple color at petal with oblong shape. Flowering study showed that flowering periods of each species were different during the year. Genetic relationship study by random amplified polymorphic DNA (RAPD) could divide 19 Paphiopedilum species into 2 main groups and 6 subgroups of Brachypetalum, Paphiopedilum, arbata,cptaum,Ps oytha with similarity coefficients ranging from 0.20 to 0.84. The dendrogram revealed close relationship between P. appletonianum and P. callosum with similarity coefficient of 0.84. Distant relationship was found between P. concolor and P. philippinense with similarity coefficient of 0.20. Paphiopedilum myanmaricum was a species in subgenus Brachypetalum discovered in 2017. Leaf and flower characters were very similar to P. josianae. RAPD results showed that 11 Paphiopedilum species in subgenus Brachypetalum could be divided into 2 clusters of 4 subgroups with similarity coefficients ranging from 0.400 to 0.850. Genetic variation was in accordance with flower characteristics of each species. Dendrogram analysis revealed close relationship between P. concolor and P. concolor var. hennisianum with the highest similarity coefficient of 0.850 and between P. myanmaricum and P. josianae with similarity coefficient of 0.663. Chromosome study of P. myanmaricum by Feulgen squash method identified chromosome number 2n=26. Genetic analysis by amplified fragment length polymorphism (AFLP) could divide 50 Paphiopedilum species into 8 groups which were 1. Brachypetalum, 2. Cochlopetalum, 3. Parvisepalum, 4. Polyantha, 5. Sigmatopetalum, 6. Paphiopedilum, 7. Laosianum, and 8. Megastaminodium. P. jackii and P. malipoense had the closest genetic relationship with similarity coefficient of 0.924 while P. canhii and P. rungsuriyanum had the lowest genetic relationship with similarity coefficient of 0.373. P. sp. Lampang was included in a group of subgenus Paphiopedilum which was in accordance with its morphological information. When considered among 11 Paphiopedilum species in subgenus Paphiopedilum, P. sp. Lampang and P. charlesworthii were placed into different groups. These 2 species had similar flower but different staminode characters. P. sp. Lampang was categorized by AFLP into the same group with P. coccineum and P. sulivongii. Flower of P. sp. Lampang was closely related to but still distinct from that of P. coccineum. The results of morphological and AFLP analyses supported that P. sp. Lampang was a new species in the genus Paphiopedilum.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleMorphology and molecular identification of Paphiopedilum Orchidsen_US
dc.title.alternativeสัณฐานวิทยาและการจำแนกทางโมเลกุลของกล้วยไม้รองเท้านารีสกุล Paphiopedilumen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshOrchids -- Morphology-
thailis.controlvocab.lcshSlipper orchids -- Morphology-
thailis.controlvocab.lcshHorticulture-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาและช่วงเวลาการออกดอกของกล้วยไม้สกุลรองเท้านารี 50 ชนิดที่เป็นตัวแทนจาก 7 สกุลย่อย กับ 1 หมู่ พบว่าในแต่ละสกุลย่อยมีลักษณะเด่นทางสัณฐานที่ เป็นเอกลักษณ์ประจำสกุลย่อย โดยสรุปได้ดังนี้ สกุลย่อย Brachypetalum มีลักษณะพื้นใบลาย กลีบ ดอกก่อนข้างกลมรี สกุลย่อย Cochlopetalum มีพื้นใบเขียว ออกดอกเป็นช่อทยอยบานเดือนละหนึ่ง ดอก กลีบดอกสั้นบิดเป็นลอน ดอกบนช่อทขอยบานตลอดทั้งปี สกุลช่อย Paphiopedilum มีพื้นใบ เขียว ออกดอกเดี่ยว กลีบดอกแกบ สกุลย่อข Parvisepalum มีพื้นใบลาย ออกดอกเดี่ยว กลีบดอกกลมรี และมีกลีบปากรูปทรงกลมพองขนาดใหญ่ สกุลช่อย Polyantha มีพื้นใบเขียว ออกดอกเป็นช่อ กลีบ ดอกแคบและบิดเป็นเกลียวยาว สกุลย่อย Sigmatopetalun มีพื้นใบลาย ออกดอกเดี่ยว กลีบดอกแคบ กลีบเลี้ยงบนแผ่กว้าง สกุลช่อย Megastaminodium มีขนาดต้นเล็ก พื้นใบลาย ออกดอกเดี่ยว กลีบดอก แคบ บิดเกลียวเล็กน้อย สตามิโนดมีขนาดใหญ่เป็นแผ่นแบน หมู่ Laosianun มีขนาดต้นเล็ก พื้นใบ ลาย ออกดอกเดี่ยว ดอกมีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับขนาดต้น กลีบดอกเป็นรูปทรงแถบและมีสีม่วง สด จากการศึกษาช่วงเวลาออกดอกของรองเท้านารีทั้ง 50 ชนิด พบว่ามีความแตกต่างกันในรอบปี การศึกษาความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของกถ้วยไม้รองเท้านารีสกุล Paphiopedilum จำนวน 19 ชนิด ด้วยเทกนิคอาร์เอพีดี สามารถจัดกลุ่มรองเท้านารีออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ 6 กลุ่มย่อย ดังนี้ Brachypetalum, Paphiopedilum, Barbata, Cochopetaum,Pisea และ Polyantha โดยมี ค่า ดัชนีความเหมือน 0.20-0.84 จากแผนภูมิความสัมพัน ธ์พบว่า P. appletonianum และ P. callosum มีความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมใกล้ชิดกันมากที่สุด มีค่าดัชนีความเหมือน 0.84 P. concolor และ P. philippinense มีความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมต่างกันมากที่สุด มีค่าดัชนีความเหมือน 0.20 รองเท้านรีแดงสิงขรจัดเป็นรองเท้านารีในสกุลย่อย Brachypetalum ที่ค้นพบในปี พ.ศ. 2560 ลักษณะใบและดอกมีความใกล้เคียงกับรองเท้านารีเหลืองสิงขร การจัดกลุ่มรองเท้านารี 11 สายพันธุ์ ในสกุลย่อย Brachypetalum ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ 4 กลุ่มย่อย โดยมีค่าดัชนีความเหมือน 0.400-0.850 ความต่างทางพันธุกรรมมีความสอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของดอกในแต่ละสายพันธุ์ จากแผนภูมิ ความสัมพันธ์พบว่ารองเท้านรีเหลืองปราจีนและรองเท้านารีเหลืองอุดรมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน มากที่สุด มีค่าดัชนีความเหมือน 0.850 ส่วนรองเท้านารีแดงสิงขรและรองเท้านารีเหลืองสิงขรมีค่า ดัชนีความเหมือน 0.663 การศึกษาโครโมโซมด้วยวิธี Feulgen squash พบว่ารองเท้านารีแดงสิงขรมี จำนวนโครโมโซม 2n=26 สามารถแบ่งได้เป็น 8 กลุ่มคือ 1. Brachypetalum, Cochlopetalum, 3 . Parvisepalum, 4 . Polyantha, 5 . Sigmatopetalum, 6 . Paphiopedilum, 7 . Laosianum และ 8. Megastaminodium โดย P. jackii และ P. malipoense มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน มากที่สุด มีค่าดัชนีความเหมือน 0.924 ส่วน P. canhi และ P. rungsuriyanun มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด กันน้อยที่สุด มีค่าดัชนีความเหมือน 0. 373 และรองเท้านารี sp. ลำปาง ถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มของสกุล ย่อย Paphiopedilum ซึ่งสอดคล้องกับลักษณะทางสัณฐานวิทยา เมื่อพิจารณารองเท้านรีทั้ง 1 1 ชนิด ในสกุลย่อย Paphiopedilนm จากแผนภูมิความสัมพันธ์พบว่า รองเท้านารี sp. ลำปางและรองเท้านารี ดอยตุงถูกจำแนกให้อยู่คนละกลุ่มกัน ซึ่งรองเท้านารีสองชนิดนี้ มีลักษณะดอกที่ใกล้เคียงกันแต่ส่วน ของสตามิโนดมีความแตกต่างกัน รองเท้านารี sp. ลำปางถูกจัดให้อยู่รวมกับ P. coccineum และ P. sulivongii ซึ่งลักษณะดอกของรองเท้านารี sp. ลำปาง มีความใกล้เคียงกับ P. coccineum แต่ยังคงมี ความแตกต่างกันที่ชัดจน ดังนั้นข้อมูลที่ได้จากการศึกยาลักษณะทางสัณฐานและข้อมูลที่ได้จากการ วิเคราะห์เครื่องหมายเอเอฟแอลพีสามารถสรุปได้ว่า รองเท้านารี sp. ลำปาง เป็นรองเท้านารีชนิดใหม่ ในสกุล Paphiopedilumen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580851012 วิชรุจญ์ ทองคำ.pdf9.04 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.