Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78516
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุพงศ์ วงศ์ไชย-
dc.contributor.advisorกรรณิกา แซ่ลิ่ว-
dc.contributor.authorพรปวีณ์ กิตติชัยณรงค์en_US
dc.date.accessioned2023-07-19T00:47:03Z-
dc.date.available2023-07-19T00:47:03Z-
dc.date.issued2022-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78516-
dc.description.abstractChicken meat demand has been rising due to its low-fat and inexpensive attributes compared to other protein sources. However, the broiler industry in Thailand still depends on inputs and technologies from abroad, leading to the rising cost of broiler production and rising prices of chicken meat and chicken products of Thailand. Therefore, technical efficiency measurement on broiler production is a method to demonstrate producers’ capabilities to maximize the production throughput within the bounds of possibility of existing inputs. This study aimed to analyze the technical efficiency of broiler production in Northern Thailand and the factors affecting the technical efficiency of broiler production in Northern Thailand. The study used secondary data about the overview of the broiler industry in 17 provinces of Northern Thailand from 2015 to 2019. It found that the rate of change in broiler production in Northern Thailand was in contrast to other regions of Thailand through an analysis of (1) Descriptive Statistics (2) Super – efficiency Data Envelopment Analysis (SE – DEA) (3) Tobit regression. The result showed that all 17 provinces in Northern Thailand performed with different technical efficiency scores. Lamphun Province had the highest efficiency score at 3.93 and Phayao Province had the lowest efficiency score at 0.70 which was still considered a high - efficiency level. Finally, the average technical efficiency score of all 17 provinces in Northern Thailand was 1.31 which was a very high technical efficiency of broiler production. Furthermore, the factors affecting the technical efficiency of broiler production in Northern Thailand were the farmer’s number of year of education, province’s average maximum temperature, and farmer’s age.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleประสิทธิภาพทางเทคนิคของการผลิตไก่เนื้อในภาคเหนือของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeTechnical efficiency of broiler production in Northern Thailanden_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashไก่เนื้อ - - ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashไก่เนื้อ - - การผลิต-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractความต้องการบริโภคเนื้อไก่มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นเนื่องจากเนื้อไก่เป็นแหล่งอาหารประเภทโปรตีนที่มีไขมันต่ำและราคาถูก เมื่อเทียบกับเนื้อสัตว์ประเภทอื่น แต่อุตสาหกรรมไก่เนื้อไทยยังคงต้องพึ่งพาปัจจัยการผลิตและเทคโนโลยีจากต่างประเทศ ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตไก่เนื้อปรับตัวสูงขึ้นทำให้เนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของประเทศไทยมีราคาแพง ดังนั้นการวัดประสิทธิภาพทางเทคนิคของการผลิตไก่เนื้อเป็นการแสดงความสามารถของผู้ผลิตไก่เนื้อในการเพิ่มผลผลิตให้ใด้มากที่สุดภายใต้ความเป็นไปได้ของระดับปัจจัยการผลิตที่มี โดยการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอุตสาหกรรมการผลิตไก่เนื้อในภาคเหนือของประเทศไทย วิเคราะห์ประสิทธิภาพทางเทคนิคของการผลิตไก่เนื้อในภาคเหนือของประเทศไทย และวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพทางเทคนิคของการผลิตไก่เนื้อในภาคเหนือของประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมไก่เนื้อในภาพรวมของภาคเหนือในประเทศ'ไทย จำนวน 17 จังหวัด ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2558 - 2562 ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลโดย (1) สถิติเชิงพรรณนา (2) วิธีวิเคราะห์เชิงล้อมกรอบข้อมูลประสิทธิภาพขั้นสูง (Super – efficiency Data Envelopment Analysis: SE - DEA) และ (3) การถดถอยโทบิท (Tobit regression) ผลการศึกษา แสดงให้เห็นว่าทั้ง 17 จังหวัดในภาคเหนือมีประสิทธิภาพทางเทคนิคที่แตกต่างกัน โดยที่จังหวัดลำพูนมีคะแนนประสิทธิภาพสูงที่สุด เท่ากับ 3.93 และจังหวัดพะเยามีคะแนนประสิทธิภาพต่ำที่สุดเท่ากับ 0.70 ซึ่งยังคงอยู่ในระดับที่สูง และคะแนนประสิทธิภาพทางเทคนิคเฉลี่ย เท่ากับ 1.31 นั่นคือ ทุกจังหวัดของภาคเหนือของประเทศไทยมีประสิทธิภาพทางเทคนิคของการผลิตไก่เนื้อในระดับที่สูงมาก นอกจากนี้ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพทางเทคนิคของการผลิตไก่เนื้อในภาคเหนือของประเทศไทย คือ จำนวนปีการศึกษาผู้เลี้ยง, ปริมาณอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยของจังหวัด และอายุผู้เลี้ยงen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620832004 พรปวีณ์ กิตติชัยณรงค์.pdf2.87 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.