Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78496
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิวพร อึ้งวัฒนา-
dc.contributor.advisorวิลาวัณย์ เตือนราษฎร์-
dc.contributor.authorสรอรรถ จันธิดาen_US
dc.date.accessioned2023-07-15T06:23:24Z-
dc.date.available2023-07-15T06:23:24Z-
dc.date.issued2022-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78496-
dc.description.abstractThis quasi-experimental study, using a one-group pretest-posttest design, aimed to compare average scores for knowledge and practices regarding COVID-19 prevention of student leaders in Anukul Wittaya school, Mae Sot District, Tak Province. The population consisted of 18 students who were student leaders in primary level 4 to secondary level 3, and data were collected over 4 weeks in September 2022. Equipment used in this research included 1) a learning enhancing program on COVID-19 prevention for student leaders, applied using Bloom’s taxonomy (Anderson et al., 2001; Bloom, 1956); 2) learning-enhancing videos on COVID-19 prevention for student leaders; and 3) PowerPoint media, verified by 6 experts. The tools used for data collection included 1) a knowledge test on COVID-19 prevention for student leaders, with each question having an index of item-object congruence (IOC) of 0.67–1 and a stability coefficient of 0.72, using Kuder–Richardson’s KR-20 formula; and 2) a practical questionnaire on COVID-19 prevention for student leaders, with a content validity index (CVI) of 0.84 and a stability coefficient of 0.78, using Kuder–Richardson’s KR-20 formula. Descriptive statistics, paired t-test, and the McNemar test were applied for data analysis. The results showed that: 1. The average score for student leaders’ knowledge about COVID-19 prevention, after applying the learning enhancing program regarding COVID-19 prevention, was significantly higher than before applying the program (p< .001). 2. COVID-19 prevention practices of student leaders, after applying the learning enhancing program regarding COVID-19 prevention, were significantly higher than before applying the program (p= .008). The results demonstrate that the learning enhancing program on COVID-19 prevention for student leaders can be used to develop their potential.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโรคโควิด-19en_US
dc.subjectแกนนำนักเรียนen_US
dc.subjectทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูมen_US
dc.subjectการป้องกันโรคโควิด-19ในโรงเรียนen_US
dc.subjectการป้องกันโรคโควิด-19ของแกนนำนักเรียนen_US
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมการเรียนรู้ต่อความรู้และการปฏิบัติการป้องกันโรคโควิด-19 ของแกนนำนักเรียนในโรงเรียนอนุกูลวิทยา อำเภอแม่สอด จังหวัดตากen_US
dc.title.alternativeEffects of the learning enhancement program on Covid-19 prevention knowledge and practices of student leaders in Anukul Wittaya school, Mae Sot district, Tak provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการเรียนรู้-
thailis.controlvocab.thashโควิด-19 (โรค) -- การป้องกันและควบคุม-
thailis.controlvocab.thashนักเรียน-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียน -- ตาก-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนอนุกูลวิทยา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Research) แบบหนึ่งกลุ่ม เปรียบเทียบก่อน- หลังการทดลอง (One Group pretest-posttest design) มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้และการปฏิบัติการป้องกันโรคโควิด-19 ของแกนนำนักเรียน โรงเรียนอนุกูลวิทยา อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ศึกษาในประชากร แกนนำนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึง 6 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 3 จำนวน 18 ราย เก็บรวบรวมข้อมูล 4 สัปดาห์ ในเดือนกันยายน พ.ศ.2565 เครื่องมือที่ใช้ดำเนินการวิจัย ได้แก่ 1) โปรแกรมส่งเสริมการเรียนรู้การป้องกันโรคโควิด-19 ของแกนนำนักเรียน ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม (Anderson et al., 2001; Bloom, 1956) 2) ชุดสื่อส่งเสริมการเรียนรู้การป้องกันโรคโควิด-19 ของแกนนำนักเรียน และ 3) สื่อ PowerPoint ประกอบการสอน ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบและแก้ไขตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิ 6 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบประเมินความรู้การป้องกันโรคโควิด-19 ของแกนนำนักเรียน แต่ละข้อได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item-object congruence: IOC) เท่ากับ0.67 – 1 และได้ค่าความเชื่อมั่น ทดสอบโดยใช้วิธีคูเดอร์-ริชาร์ดสัน (KR-20) เท่ากับ 0.72 และ 2) แบบสอบถามการปฏิบัติการป้องกันโรคโควิด-19 ของแกนนำนักเรียน ได้ค่าดัชนีความตรงของเนื้อหา (Content Validity Index: CVI) เท่ากับ 0.84 และได้ค่าความเชื่อมั่น ทดสอบโดยใช้วิธีคูเดอร์-ริชาร์ดสัน (KR-20) เท่ากับ 0.78 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติ paired t-test และสถิติ McNemar Test ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้การป้องกันโรคโควิด-19 ของแกนนำนักเรียน ภายหลังจากได้รับโปรแกรมส่งเสริมการเรียนรู้การป้องกันโรคโควิด-19 ของแกนนำนักเรียน สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p< .001 2. การปฏิบัติการป้องกันโรคโควิด-19 ของแกนนำนักเรียน ภายหลังจากได้รับโปรแกรมส่งเสริมการเรียนรู้การป้องกันโรคโควิด-19 ของแกนนำนักเรียน สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p= .008 ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมส่งเสริมการเรียนรู้การป้องกันโรคโควิด-19 ของแกนนำนักเรียนสามารถนำมาใช้เพื่อการพัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียนได้ต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631231138 - สรอรรถ จันธิดา.pdf3.47 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.