Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78455
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วีระพร ศุทธากรณ์ | - |
dc.contributor.advisor | อนนท์ วิสุทธิ์ธนานนท์ | - |
dc.contributor.author | ฐาปานีย์ สิงห์บวรนันท์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-07-11T14:32:09Z | - |
dc.date.available | 2023-07-11T14:32:09Z | - |
dc.date.issued | 2564-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78455 | - |
dc.description.abstract | Musculoskeletal disorders are the most commonly diagnosed health problem among ailments related to working with computers. This quasi-experimental research aimed to study the effects of motivational interviewing on prevention behavior against musculoskeletal disorders among computer workers. The study participants were 66 supporting staff members working in a hospital and purposely selected based on inclusion criteria. They were randomly assigned, in equal numbers, to a control or an experimental group. Neither group was statistically significantly different in terms of sex, age, body mass index, physical activity, or musculoskeletal disorders during the past three months. The experimental group participated in the motivational interviewing activity four times over four weeks, whereas the control group received only an instruction manual. The research instruments consisted of an instruction manual for prevention of musculoskeletal disorders related to computer work, a discussion plan for the motivational interview, and the data collection tools. These tools included a general questionnaire, a work posture assessment from (Rosa- Rapid Office Strain Assessment: ROSA), and muscle strength assessment forms for sit and reach flexibility test and hand gripping. All research instruments were validated by experts and met acceptable psychometric properties. The value of index of item objective congruence (IOC) was 0.94 and the inter-rater reliability was 1. Data were analyzed using descriptive statistics and two group comparison t-tests. The results found that, after the experiment, the experimental group had statistically significant mean scores for ROSA and muscle strength assessment which were better than prior to the experiment, as well as compared with the control group (P < 0.05). The better mean score for ROSA indicates that the experimental group had adopted a good working posture and appropriate workstation modification. Moreover, the experimental group engaged in regular physical activity to improve muscle strength. Results from this study support the further use of the motivational interviewing program to enhance work-related musculoskeletal disorder prevention behavior among computer workers. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผลของการสนทนาสร้างแรงจูงใจต่อพฤติกรรมการป้องกันกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อจากการทำงานในพนักงานคอมพิวเตอร์ | en_US |
dc.title.alternative | Effect of motivational interviewing on work-related musculoskeletal disorder prevention behaviors among computer workers | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | โรงพยาบาล -- พนักงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | พนักงาน -- สุขภาพและอนามัย | - |
thailis.controlvocab.thash | โรคเกิดจากอาชีพ | - |
thailis.controlvocab.thash | การสำรวจสุขภาพ | - |
thailis.controlvocab.thash | พฤติกรรมสุขภาพ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | อาการผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อ เป็นปัญหาสุขภาพที่ได้รับการวินิจฉัยมากที่สุด ในบรรดาความเจ็บป่วยที่เกี่ยวข้องกับการทำงานกับคอมพิวเตอร์ การวิจัยกึ่งทคลองนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา ผลของการสนทนาสร้างแรงจูงใจต่อพฤติกรรมการป้องกันกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบ โครงร่างและกล้ามเนื้อจากการทำงานในพนักงานคอมพิวเตอร์ กลุ่มคัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นพนักงานคอมพิวเตอร์ในโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง คัดเลือกตามลักษณะ ที่กำหนด จำนวน 66 คน จากนั้นทำการสุ่มเลือกแบบง่าย เพื่อเข้าเป็นกลุ่มทคลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 33 คน โคยทั้ง 2 กลุ่มไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติในด้าน เพศ อายุ ดัชนีมวลกาย การออกกำลังกายและอาการ ผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อในระยะ 3 เดือนที่ผ่านมา กลุ่มทคลองเข้าร่วมกิจกรมการ สนทนาสร้างแรงจูงใจจำนวน 4 ครั้ง เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับเฉพาะคู่มือ ความรู้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย คู่มือความรู้การป้องกันอาการผิดปกติในระบบโครงร่าง และกล้ามเนื้อจากการทำงานกับคอมพิวเตอร์ แผนการสนทนาสร้างแรงจูงใจ และ เครื่องมือที่ใช้ใน การรวบรวมข้อมูล ซึ่งประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินท่าทางการทำงาน ROSA (Rasa-Rapid Office Strain Assessment) ซึ่งเป็นแบบคัดกรองที่ใช้ประเมินท่าทางการทำงานกับ คอมพิวเตอร์ และแบบประเมินสมรรถภาพกายในด้านความอ่อนตัวและแรงบีบมือ โคยเครื่องมือที่ใช้ ในการรวบรวมข้อมูลได้ผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่า I0C = 0.94 และ ค่าความเชื่อมั่นของ การสังเกตเท่ากับ 1 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และ การทดสอบเปรียบเทียบความแตกต่าง ระหว่าง 2 กลุ่ม (t-test) ผลการศึกษา พบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มที่ได้รับการสนทนาสร้างแรงจูงใจ มีค่าเฉลี่ยคะแนนประเมิน ROSA ดีกว่าก่อนการทคลอง และ ดีกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระคับ 0.05 ซึ่งหมายถึง กลุ่มทคลองมีพฤติกรรมการปรับท่าทางการทำงานให้เหมาะ สมและ ถูก หลักการมากขึ้น สำหรับการทคสอบสมรรถภาพกาย พบว่า หลังการทคลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความ อ่อนตัว และค่าเฉลี่ยคะแนนแรงบีบมือดีกว่าก่อนการทคลอง และค่าเฉลี่ยคะแนนความอ่อนตัวของ กลุ่มทคลองดีกว่ากลุ่มควบคุมหลังการทคลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 โดยกลุ่มทคลอง มีพฤติกรรมการเสริมสร้างกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น ผลการทคลองสนับสนุนการนำโปรแกรมการสร้างแรงจูงใจไปใช้ในการส่งเสริมพฤติกรรม การป้องกันกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อจากการทำงาน ในพนักงาน คอมพิวเตอร์อื่น ๆ ต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611231085 ฐาปานีย์ สิงห์บวรนันท์.pdf | 2.41 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.