Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78401
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฤตินันท์ สมุทร์ทัย-
dc.contributor.authorบัวลา อินถาวรen_US
dc.date.accessioned2023-07-09T07:06:10Z-
dc.date.available2023-07-09T07:06:10Z-
dc.date.issued2022-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78401-
dc.description.abstractThe objectivws of the study were: 1) To Develop the Components and Indicators of Art Graduates Quality Majoring in English Faculty of Languages, Souphanouvong University, Lao PDR. 2) Examine the Structural Validity and the Quality of the Art Graduate’ Quality model majoring in English, Faculty of Languages, Souphanouvong University. The Samples in this research were 293 participants who included; administrators, lecturers, Curriculum Instructors, University academic committees, graduate students, and entrepreneurs; A five-point rating scale was used for data collection. There were 2 questionnaires, the first was used in quality test for indicators of Confirmatory factor Analysis by Mplus program version 7.4, and the second was used for quality inspection in suitability, feasibility, accuracy, and utility of the elements and indicators of the art graduates’ quality by analyzing the mean standard deviation. The results show that: the development of the Components and indicators of Art Graduates’ Quality Majoring in English Faculty of Languages, Souphanouvong University, Lao PDR has 4 components which are; Knowledge, Cognitive Skill, Performance Skill, and Attribute. The sixteen indicators of the suitability were found to be high. The factor and structural analysis found that the quality art graduate model development was appropriately consistent and aligned with the empirical data in which the chi-square e (χ2 ) =78.656; df=64; P-Value=0.1028; in χ2 /df =1.229; RMSEA= 0.030; CFI=0.994; TLI= 0.989 and SRMR= 0.034 were based on the fit criteria or principles of fit consideration. Results from 32 administrators, lecturers, Curriculum Instructors, and University academic committees on the model’s quality in suitability, feasibility, accuracy, and utility of the elements and indicators developed had high level mean with: Mean=4.09, 4.08, 4.16 and 4.11 respectively.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาโมเดลการวัดคุณภาพบัณฑิตศิลปศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ คณะภาษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุพานุวง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Quality Measurement Model the Art Graduates Majoring in English Faculty of Languages, Souphanouvong University, Lao PDRen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashบัณฑิต -- ลาว-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาขั้นอุดมศึกษา -- ลาว-
thailis.controlvocab.thashภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน (อุดมศึกษา)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้คุณภาพบัณฑิตศิลปศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ คณะภาษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุพานุวง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และ 2) เพื่อพัฒนาและตรวจสอบความตรงและคุณภาพของโมเดลการวัตคุณภาพบัณฑิตศิลปศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ คณะภาษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุพานุวง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหาร อาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร คณะกรรมาธิการวิชาการมหาวิทยาลัย บัณฑิตที่จบจากหลักสูตรศิลปศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ คณะภาษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย สุพานุวง และผู้ใช้บัณฑิต รวมทั้งหมดจำนวน 293 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 2 ชุด แบบสอบถามชุดที่ 1 ใช้ในการตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของโมเดล โดยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง (Second order Confirmatory Factor Analysis) ด้วยโปรแกรม Mplus Version 7.4 และแบบสอบถามชุดที่ 2 ใช้เพื่อตรวจสอบคุณภาพของโมเดลในด้านความเหมาะสม ความเป็นไปได้ การใช้ประโยชน์ และความถูกต้อง โดยการวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ด้วยโปรแกรม SPSS ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ ผลการพัฒนาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้คุณภาพบัณฑิตศิลปศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ คณะภาษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุพานุวง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พบว่ามี 4 องค์ประกอบ คือ ด้านความรู้ (Knowledge) ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills) ด้านทักษะการปฏิบัติงาน (Performance Skills) ด้านคุณลักษณะ (Attribute) และได้ตัวบ่งชี้ทั้งหมดจำนวน 16 ตัวบ่งชี้ ตรวจสอบความเหมาะสมขององค์ประกอบ และตัวบ่งชี้ที่พัฒนาขึ้นโดยการสอบถามผู้บริหาร อาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และคณะกรรมาธิการวิชาการ พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก นำไปวิเคราะห์องค์ประกอบและสมการโครงสร้าง พบว่า โมเดลการวัดคุณภาพบัณฑิตที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับหลักฐานทางสถิติ (ไค-สแควร์= 78.656, df = 64, p = 0.1028, RMSEA = 0.030; CFI=0.994; TLI= 0.989 and SRMR= 0.034) และมีคุณภาพในด้านความเหมาะสม ความเป็นประโยชน์ ความเป็นไปได้ และความถูกต้องตามความเห็นของผู้ผลิตบัณฑิต ได้แก่ ผู้บริหาร อาจารย์สอน ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และคณะกรรมาธิการวิชาการ มหาวิทยาลัยสุพานุวง จำนวน 32 ท่าน ในระดับมาก(ค่าเฉลี่ย = 4.09, 4.08, 4.16 และ 4.11 ตามลำดับ)en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
๖๒๐๒๓๑๐๐๒ บัวลา อินถาวร.pdf16.96 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.