Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78398
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริรัตน์ ปานอุทัย-
dc.contributor.advisorพนิดา จันทโสภีพันธ์-
dc.contributor.authorภัทราวลัย ไชยชมภูen_US
dc.date.accessioned2023-07-09T06:41:21Z-
dc.date.available2023-07-09T06:41:21Z-
dc.date.issued2022-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78398-
dc.description.abstractPhysical literacy is one of the factors that ensures a person’s proper and continuous practice of physical activities. This correlational descriptive research aimed to examine physical literacy and physical activities and the association between physical literacy and physical activities among older persons with hypertension. Participants in this study were 84 older persons with hypertension attending a sub-district health promoting hospital in, Mae Rim District, Chiang Mai Province, were selected using simple random sampling from June to September 2022. The research instruments used in this study included a demographic and illness data recording form, a perceived physical literacy questionnaire and a questionnaire on physical activity of older persons with hypertension. Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson’s product-moment correlation. The results showed that participants had a moderate level of physical literacy and a high level of physical activities. Physical literacy had a positive, moderate correlation with physical activities at p < .01 (r= 0.318). These results provide basic information for health personnel in planning for promoting physical literacy to maintain appropriate physical activities among older persons with hypertension.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความรอบรู้ทางกายและกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงen_US
dc.title.alternativePhysical literacy and physical activities among older persons with hypertensionen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashความรอบรู้ทางสุขภาพ-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ-
thailis.controlvocab.thashความดันเลือดสูง-
thailis.controlvocab.thashความดันเลือดสูงในวัยสูงอายุ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractความรอบรู้ทางกายเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกิดการปฏิบัติกิจกรรมทางกายในบุคคลอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง การวิจัยเชิงพรรณนาความสัมพันธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรอบรู้ทางกาย กิจกรรมทางกาย และความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ทางกายและกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงที่มารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในเขตอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ คัดเลือกแบบสุ่มอย่างง่ายจำนวน 84 ราย เก็บข้อมูลระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน 2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลความเจ็บป่วย แบบสอบถามการรับรู้ความรอบรู้ทางกายในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง และแบบสอบถามกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า ผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงมีความรอบรู้ทางกายในอยู่ในระดับปานกลาง และมีกิจกรรมทางกายอยู่ในระดับมาก ความรอบรู้ทางกายมีความสัมพันธ์ทางบวกกับกิจกรรมทางกายในระดับปานกลาง ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p < .01 (r = 0.318) ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับบุคลากรทางด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องในการดูแลผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงเพื่อนำไปใช้ประกอบการวางแผนในการส่งเสริมความรอบรู้ทางกาย เพื่อให้ผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงคงไว้ซึ่งการทำกิจกรรมทางกายอย่างเหมาะสมและเพียงพอen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631231112 ภัทราวลัย ไชยชมภู-WM.pdf1.26 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.