Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78353
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรชนิตว์ ลีนาราช-
dc.contributor.authorกัญญารัตน์ ใจจินาen_US
dc.date.accessioned2023-07-07T00:55:52Z-
dc.date.available2023-07-07T00:55:52Z-
dc.date.issued2022-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78353-
dc.description.abstractThis study is quantitative. The objectives of the research are as followed 1) to explore the opinions of the administrators on the need for professional knowledge and the style of professional development of the hospital librarians; 2) to explore the opinions of the hospital librarians on the need for their professional knowledge and the style of professional development and 3) to explore the opinions of the administrators and the hospital librarians on the problems and obstacles in the professional development of the hospital librarians. The study was conducted in 2 population groups: 51 deputy administrators for healthcare development, or the director of the medical education center, and 61 hospital librarians, a total of 112 people who work in hospitals dividing into 3 groups, namely 1) center hospitals with medical education centers 2) general hospitals with medical education centers; 3) center hospitals without medical education centers. A total of 103 sets of data were collected from 42 sets of executives (82.35 percent) and 61 sets of hospital librarians (100.00 percent), Data analysis was done by using descriptive research statistics and inferential statistics. The results showed that the administrators want the hospital librarians to develop their overall professional knowledge, with a high average level hitting (X - 4.44). However, when considering cach aspect, the administrators want the hospital librarians to develop their professional knowledge in information technology as a priority, which is hiting at the highest average level (X = 4.58), followed by the development of the library's technical work and average level (X = 4.51) and of the library's service at (X = 4.45) gradually. Besides, the hospital librarians want to develop their overall professional knowledge development, with a high average level hitting (X = 4.38). When considering each aspect, it was found that the priority shall develop professional knowledge in the library's technical work at the highest average level (X = 4.48), followed by 2 almost equal aspects, namely information technology and library administration with the average level at (X = 4.40) and library's services at (X = 4.39) gradually. Furthermore, the results of a study of the overall needs of administrators to the hospital librarians, they shall develop their professional skills with a high average level hitting (X = 4.18). However, when considering each aspect, it was found that the administrators need the hospital librarians to develop themselves in the professional skills of training in various topics organized by their original affiliation under the Library Association and organizations related to libraries in medical and public health with a high average level at (X = 4.48), followed by the need for knowledge management in the library with an average level at (X = 4.40) and the need to attend the meeting of the Library Association and organizations related to medical and public health libraries with average level (X -= 4.24). Besides, for the hospital librarians, who need for self-development model, the overall average level hits (X = 4.20). When considering each aspect, it was found that the priority needs for training on various topics organized by original affiliation under the Libraries Association and organizations related to libraries in medical and public health with an average level X- 4.49), followed by the desire to attend the meeting of the Library Association, and organizations related to medical and public health libraries with average (X = 4.46) and to study and visit the hospital library and other related agencies an average level (X = 4.38). Moreover, the results of an overview study of administrators on problems and obstacles in the professional development of hospital librarians an overall average moderate level (X = 3.34). When considering each aspect, it was found that the problems and obstacles in the professional development of hospital librarians according to the opinion of the administrators, the aspect that was found first is the information technology with a high average level at (X = 3.53), followed by personnel, with moderate average level (X = 3.38), and professional meetings/training seminars with an everage level at (X = 3.25). Besides the opinions of the hospital librarians on problemns and obstacles in professional development, the overall average was moderate (X = 3.37). When considering each aspect, it was found that the problems and obstacles in professional development according to the opinion of the hospital librarians, the aspect that was found first is about the personnel which hits a high average level at (X = 3.57), followed by the aspect on information technology, which is giving the moderate average level at (X = 3.47), and professional meeting training seminar an average level (X = 3.35) gradually.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความต้องการพัฒนาทางวิชาชีพของบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงพยาบาลในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeProfessional development needs of hospital librarians in Thailanden_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashบรรณารักษ์-
thailis.controlvocab.thashห้องสมุดโรงพยาบาล - - ไทย-
thailis.controlvocab.thashบรรณารักษศาสตร์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหารด้านความรู้ที่ต้องการให้บรรณารักษ์ห้องสมุดโรงพยาบาลพัฒนา ทางวิชาชีพ และรูปแบบการพัฒนาทางวิชาชีพ 2) ศึกษาความคิดเห็นของบรรณารักษ์ห้องสมุด โรงพยาบาลด้านความรู้ที่ต้องการในการพัฒนาทางวิชาชีพ และรูปแบบการพัฒนาทางวิชาชีพ และ 3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานของบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงพยาบาลในประเทศไทย ตามความเห็นของผู้บริหารและบรรณารักษ์ ศึกษาในประชากร 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้บริหารตำแหน่งรองผู้บริหารด้านพัฒนาระบบบริการและสนับสนุนบริการสุขภาพ (พรส.) หรือ ผู้อำนวยการศูนย์แแพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก จำนวน 51 คน และกลุ่มบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงพยาบาลจากโรงพยาบาล จำนวน 61 คน รวมทั้งหมด 112 คน ซึ่งปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วประเทศ 3 กลุ่ม คือ 1) โรงพยาบาลศูนย์ที่มีศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก 2) โรงพยาบาลทั่วไปที่มีศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก 3) โรงพยาบาลศูนย์ที่ไม่มีศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก รวบรวมชัอมูลได้ จำนวน 103 ชุด จากกลุ่มผู้บริหารได้จำนวน 42 ชุด (ร้อยละ 82.35) และกลุ่มบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงพยาบาลได้จำนวน 61 ชุด (ร้อยละ 100.00) การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติการวิจัยเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริหารมีความต้องการให้บรรณารักษ์ห้องสมุด โรงพยาบาลพัฒนาความรู้ด้านวิชาชีพในภาพรวม ค่าเฉลี่ยระดับมาก (X = 4.44) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อันดับแรก ต้องการให้ บรรณารักษ์ห้องสมุดโรงพยาบาลพัฒนาทางวิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ค่าเฉลี่ยระดับมากที่สุด (X=4.58) รองลงมาคือ ด้านงานเทคนิคห้องสมุด ค่าเฉลี่ยระดับมากที่สุด (X = 4.51) และด้านงานบริการห้องสมุด ค่าเฉลี่ยระดับมาก (X = 4.45) ส่วนบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงพยาบาลมีความต้องการพัฒนาด้านความรู้ทางวิชาชีพในภาพรวม ค่าเฉลี่ยระดับมาก (X = 4.38) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อันดับแรกต้องการพัฒนาความรู้ทางวิชาชีพด้านงานเทคนิคห้องสมุด ค่าเฉลี่ยระดับมาก (X = 4.48) รองลงมาเท่ากัน2 ด้านคือ ด้านงานเทคโนโลยีสารสนเทศและด้านงานบริหารห้องสมุด ค่าเฉลี่ย ระดับมาก (X = 4.40) และด้านงานบริการห้องสมุด ค่าเฉลี่ยระดับมาก (X = 4.39) ผลการศึกษา ความต้องการในภาพรวมของผู้บริหารเพื่อให้บรรณารักษ์ห้องสมุดโรงพยาบาลพัฒนาทางวิชาชีพในรูปแบบการพัฒนาทางวิชาชีพภาพรวมค่าเฉลี่ยระดับมาก (X = 4.18) เมื่อพิจารณารายงาน พบว่า อันดับแรก ต้องการให้บรรณารักษ์ห้องสมุดโรงพยาบาลพัฒนาตนเองในรูปแบบการฝึกอบรมในหัวข้อต่าง ๆ จัดโดยหน่วยงานต้นสังกัดสมาคมห้องสมุดฯ และองค์กรที่เกี่ยวข้องกับห้องสมุดทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขอย่างต่อเนื่องค่าเฉลี่ยระดับมาก (X = 4.48) รองลงมาคือ ต้องการให้มีการจัดการความรู้ในห้องสมุดค่าเฉลี่ยระดับมาก (X = 4.40) และต้องการให้เข้าประชุมของสมาคมห้องสมุดฯ และองค์กรที่เกี่ยวข้องกับห้องสมุดทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข ค่าเฉลี่ยระดับมาก (X = 4.24) ส่วนบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงพยาบาลมีความต้องการรูปแบบการพัฒนาตนเอง ภาพรวมค่าเฉลี่ยระดับมาก (X = 4.20) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อันดับแรกต้องการฝึกอบรมในหัวข้อต่าง ๆ จัดโดยหน่วยงานต้นสังกัดสมาคมห้องสมุดฯ และองค์กรที่เกี่ยวข้องกับห้องสมุดทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง ค่าเฉลี่ยระดับมาก (X = 4.49) รองลงมาคือ ต้องการเข้าประชุมของสมาคมห้องสมุดฯ และองค์กรที่เกี่ยวข้องกับห้องสมุดทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข ค่าเฉลี่ยระดับมาก (X = 4.46) และต้องการศึกษาดูงานห้องสมุดโรงพยาบาล และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ค่าเฉลี่ยระดับมาก (X = 4.38) ผลการศึกษาความเห็นในภาพรวมของผู้บริหารด้านปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาทางวิชาชีพของบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงพยาบาล ภาพรวมค่าเฉลี่ยระดับปานกลาง (X = 3.34) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาทางวิชาชีพของบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงพยาบาลตามความเห็นของผู้บริหาร ด้านที่พบอันดับแรกคือ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ค่าเฉลี่ยระดับมาก (X = 3.53) รองลงมาคือด้านบุคลากร ค่าเฉลี่ยระดับปานกลาง (X = 3.38) และด้านการจัดประชุม อบรม/สัมมมาทางวิชาชีพค่าเฉลี่ยระดับปานกลาง (X = 3.25) ส่วนความคิดเห็นในภาพรวมของบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงพยาบาลด้านปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาทางวิชาชีพ ภาพรวมค่าเฉลี่ยระดับปานกลาง (X = 3.37)เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาทางวิชาชีพตามความเห็นของบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงพยาบาล ด้านที่พบอันดับแรกคือ ด้านบุคลากร ค่าเฉลี่ยระดับมากX = 3.57) รองลงมาคือ ค้นเทคโนโลยีสารสนเทศ ค่าเฉลี่ยระดับปานกลาง (X = 3.47) และด้านการจัดประชุมอบรม/สัมมนาทางวิชาชีพ ค่าเฉลี่ยระดับปานกลาง (X = 3.35)en_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610132021 กัญญารัตน์ ใจจินา.pdf10.26 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.