Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78342
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฟ้าไพลิน ไชยวรรณ-
dc.contributor.advisorชาญชัย แสงชโยสวัสด-
dc.contributor.advisorชูชาติ สันธทรัพย์-
dc.contributor.authorทัศนีย์ ไพรพนากุลen_US
dc.date.accessioned2023-07-06T01:14:56Z-
dc.date.available2023-07-06T01:14:56Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78342-
dc.description.abstractThe study of the Influences of Growing Seasons and Irrigation Regime and Yield of Stevia was conducted at the Mae Hia Agricultural Research, Demonstration and Training Center, Faculty of Agricultural Chiang Mai University. The objectives were (1) to compare the water use efficiency of stevia at different levels of irrigation and (2) to evaluate the growth and yield capacity of stevia. with different levels of water supply in the rainy season and summer. Conducted an experimental study on stevia planting in 2 growing seasons: rainy season (July-September 2019) and summer season (February-April 2020). The experiment was Factorial in Randomized Complete Block design com prised with irrigation as 1 st factor: Seasons (Rain and Summer) as 2 nd factor 1) Control the water supply according to farmer practices 2) Provide water in accordance with daily evapotranspiration value (ETc) 3) and 4) provides water by controlling soil moisture at 30% and 50% of available water capacity. A total of 1 6 0 samples were collected per week, including plant information, i.e. plant growth (height, canopy shape) and at 30 days of planting, fresh and dry weights (leaves, stems) were collected for soil data. One non-destructive soil sample per plot was taken at a depth of 0-30 cm for moisture determination. Throughout the growth phase of the stevia. The collected data were analyzed for variance. (analysis of variance:ANOVA) of the water treatment on growth and yield and compare the differences of experimental subject by the least ช significant difference (LSD) method at the confidence level of 9 5 % with the following study results: growth (Mean height and average canopy) in the rainy season were higher than in the summer. The average height of the rainy season and the summer was 13.69 cm and 13.44 cm, which were significantly different from the average canopy in both seasons. The canopy shape was higher in the rainy season (20.08 cm. and 11.57 cm.).From the analysis results of each watering treatment. It was found that the two seasons were not significantly different statistically. The method of watering according to the crop evapotranspiration (ETc) had the highest value, followed by irrigation according to farmers' practice, controlling the soil moisture level between the field moisture capacity and that of 3 0 % of the soil's useful moisture capacity and 5 0 % AWC, respectively. In terms of yield (fresh leaves, dry leaves, fresh stems and dry stems), it was found that the yield in the rainy season was higher than that of summer. Fresh leaf weight (53.40 g and 51.07 g) and dry leaf weight (12.09 g and 11.85 g) were used for stem weight (fresh and dry), fresh stem weight (21.04 g and 16.88 g) and dry stem weight (3.97 g and 3.34 g) and in every process of both seasons there were statistically significant differences. It was found that the watering demand of plants in treatment 2 had the highest value, followed by treatments 1, 4 and 3 respectively. The results of the study indicated that Stevia planted in the rainy season grows well and yields more than summer. But the yield was more damaged than in the summer as the waterlogging of the growing area prevented the sweet grass from growing. Farmers should have management to avoid waterlogging in the growing area. For the study, it was found that the treatments 2 method of watering had the best growth and highest yield. Followed by the irrigation method treatments 1 , while the treatments 3 and 4 irrigation methods had similar growth values. and yield the least respectively.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleอิทธิพลของฤดูปลูกและการให้น้ำต่อการเติบโตและผลผลิตของหญ้าหวานen_US
dc.title.alternativeInfluences of growing seasons and irrigation regimes on growth and yield of steviaen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashหญ้าหวาน -- การปลูก-
thailis.controlvocab.thashหญ้าหวาน -- การให้น้ำ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาอิทธิพลของฤดูปลูกและการให้น้ำต่อการเติบโตและผลผลิตของหญ้าหวานได้ ทำการศึกษาในพื้นที่ของสาขาวิชาพืชสวน ณ ศูนย์วิจัย สาธิตและฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โดยมีวัตถุประสงค์ (1) เปรียบเทียบประสิทธิภาพการใชน้ำของหญ้าหวานใน ระดับต่างๆของการให้น้ำ และ (2) ประเมินความสามารถการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของหญ้า หวานที่มีการให้น้ำระดับต่างๆในฤดูฝนและฤดูร้อน ทำการศึกษาทดลองปลูกหญ้าหวาน 2 ฤดู ปลูก คือ ฤดูฝน (ช่วงเดือนกรกฎาคม-เดือนกันยายน 2562) และฤดูร้อน (เดือนกุมภาพันธ์-เดือนเมษายน 2563) โดยวางแผน การทดลองแบบ Factorial in Randomized Complete Block Design (RCBD) จำนวน 4 ซ้ำ โดยมีฤดูกาลเป็นปัจจยัที่หนึ่ง ได้แก่ฤดูฝนและฤดูร้อน ปัจจยัที่สองคือวิธีการให้น้ำ 4 กรรมวิธี ได้แก่กรรมวิธีที่ 1 วิธีเกษตรกรนิยมปฏิบัติ(control), กรรมวิธีที่ 2 วิธีการให้น้ำ ตามค่าอัตรา การระเหยพืชรายวัน (crop evapotranspiration, ETc), กรรมวิธีที่ 3 วิธีการให้น้ำ โดยการควบคุมระดับ ความชื้นของดินระหว่างระดับความจุความชื้นสนามกับที่ระดับที่ 30% ของความจุความชื้นที่เป็น ประโยชน์ในดิน ( available water capacity, AWC), กรรมวิธีที่4 วิธีการให้น้ำโดยการควบคุมระดับ ความชื้นของดินระหว่างระดับความจุความชื้นสนามกับที่ระดับที่ 50% ของความจุความชื้นที่เป็น ประโยชน์ในดิน ( available water capacity, AWC) โดยทำการเก็บข้อมูลตัวอย่างทุกสัปดาห์จำนวน 160 ตวัอยา่ งคือขอ้ มูลพืช ได้แก่การเจริญเติบโตของพืช (ความสูง ทรงพุ่ม) และเมื่อปลูกได้ที่ 30 วัน จะทำการเก็บผลผลิตน้ำหนักสดแห้ง (ใบก้าน ) สำหรับข้อมูลดิน ทำการเก็บตัวอย่างดินแบบไม่ ทำลายโครงสร้างดินจำนวน 1 ตัวอย่างต่อแปลงที่ระดับความลึก0-30เซนติเมตรเพื่อหาความชื้นตลอด ระยะการเจริญเติบโตของหญ้าหวาน นำข้อมูลที่เก็บบันทึกมาวิเคราะห์ความแปรปรวน (analysis of variance : ANOVA) ของกรรมวิธีที่ให้น้ำต่อการเจริญเติบโตและปริมาณผลผลิตและ เปรียบเทียบความแตกต่างของสิ่งทดลองโดยวิธีleast significant difference (LSD) ที่ระดับความ เชื่อมนั่ 95% ซ่ึงมีผลการศึกษาดังนี้ ด้านการเจริญเติบโต (ความสูงเฉลี่ยและทรงพุ่มเฉลี่ย) ในฤดูฝนมี ค่าสูงกว่าฤดูร้อน โดยความสูงเฉลี่ยฤดูฝนและฤดูร้อน เท่ากับ 13.69 เซนติเมตรและ 13.44 เซนติเมตร ซ่ึงทรงพุ่มเฉลี่ยของทั้งสองฤดูมีความแตกต่างกันอย่างงมีนัยสำคัญทางสถิติโดยฤดูฝนมีทรงพุ่มสูงกว่า ฤดูร้อน (20.08 เซนติเมตรและ 11.57 เซนติเมตร) จากผลการวิเคราะห์ของการให้น้ำ แต่ละกรรมวิธี พบวา่ ทั้งสองฤดูไม่มีความแตกต่างกันอย่างงมีนัยสำคัญทางสถิติซ่ึงวิธีการให้น้ำตามค่าอัตราการระเหย พืชรายวัน มีค่าสูงสุด รองลงมาเป็นการให้น้ำตามเกษตรกรนิยมปฏิบตัิวิธีการให้น้ำ โดยการควบคุม ระดับความชื้นของดินระหว่างระดับความจุความชื้นสนามกับที่ระดับที่30% ของความจุความชื้นที่ เป็นประโยชน์ในดิน และ 50% AWC ตามลำดับ ด้านผลผลิต (ใบสดเฉลี่ย ใบแห้งเฉลี่ย ก้านสดและ ก้านแห้งเฉลี่ย) พบว่าฤดูฝนมีค่าสูงกว่าฤดูร้อน โดยมีน้ำหนักใบสด (53.40 กรัม และ 51.07 กรัม)และ น้ำ หนักใบแห้ง (12.09 กรัม และ 11.85 กรัม) สำหรับน้ำหนักก้าน (สดและแห้ง) พบว่าทั้งสองฤดูมี น้ำหนักก้านสดแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยมีน้ำหนักก้านสด (21.04 กรัม และ 16.88 กรัม)และน้ำหนักก้านแห้ง (3.97กรัม และ 3.34 กรัม )และในทุกกรรมวิธีของทั้งสองฤดูมีความ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติพบว่าการให้น้ำตามความต้องการของพืชในกรรมวิธีที่2 มี ค่าสูงสุด รองลงมากรรมวิธีที่ 1, 4 และ 3 ตามลำดับ จากผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าหญ้าหวานที่ปลูกในฤดูฝนมีการเจริญเติบโตที่ดีและให้ผลผลิต มากกว่าฤดูร้อน แต่ผลผลิตไดร้ับความเสียหายมากกว่าฤดูร้อนเนื่องจากมีการขังน้ำ ของพื้นที่ปลูกทำ ให้หญ้าหวานไม่สามารถเจริญเติบโตได้เกษตรกรควรมีการจดัการเพื่อไม่ให้เกิดการขังน้ำในพื้นที่ ปลูก สำรับฤดูร้อนพบว่าหญ้าหวานสามารถเจริญเติบโตและให้ผลผลิตได้ ถ้าเกษตรกรมีการจัดการ น้ำ ที่เหมาะสมต่อความตอ้งการของหญ้าหวาน โดยจากทดลองการให้น้ำ ตามความตอ้งการของพืชมี การเจริญเติบโตที่ดีและให้ผลผลิตมากที่สุด รองลงมาเป็นการให้น้ำ แบบกรรมวิธีที่1 ส่วนการให้น้ำ แบบกรรมวิธีที่ 3 และ 4 มีค่าที่ใกล้เคียงกันที่มีการเจริญเติบโตและได้ผลผลิตน้อยที่สุด ตามลำดับen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.